อรรถกถา
อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอกธัมมาทิบาลี อีกนัยหนึ่ง
วรรคที่ ๑
อรรถกถาเอกธัมมาทิบาลี
อรรถกถาวรรคที่ ๑#-
____________________________
#- บาลีข้อ
๑๗๙-๑๘๐
พึงทราบวินิจฉัยในเอกธรรมบาลี ต่อไป.
ความเป็นธรรมอย่างหนึ่ง ชื่อว่าเอกธรรม ธรรมอย่างหนึ่ง.
บทว่า เอกนฺตนิพฺพิทาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่ความหน่าย คือเพื่อประโยชน์แก่ความเบื่อระอาในวัฏฏะโดยส่วนเดียว.
บทว่า วิราคาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่การคลายกำหนัดในวัฏฏะ.
อีกอย่างหนึ่ง เพื่อสำรอก คือ เพื่อความไปปราศแห่งกิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น.
บทว่า นิโรธาย ได้แก่ เพื่อความดับกิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น คือเพื่อประโยชน์แก่การทำกิเลสมีราคะเป็นต้นมิให้ดำเนินต่อไป. อีกอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การดับวัฏฏะ.
บทว่า อุปสมาย เพื่อประโยชน์แก่การเข้าไปสงบกิเลส.
บทว่า อภิญฺญาย คือ เพื่อประโยชน์แก่การยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ มีความไม่เที่ยงเป็นต้นแล้วรู้ยิ่ง.
บทว่า สมฺโพธาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่การตรัสรู้สัจจะทั้ง ๔. อีกอย่างหนึ่ง คือ เพื่อประโยชน์แก่การแทงตลอดญาณในมรรคทั้ง ๔ ซึ่งพระองค์ตรัสไว้อย่างนี้ว่า ญาณในมรรคทั้ง ๔ เราเรียกว่า โพธิ การตรัสรู้.
บทว่า นิพฺพานาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่การทำให้แจ้งพระนิพพานซึ่งหาปัจจัย (ปรุงแต่ง) มิได้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพรรณนาพุทธานุสสติกรรมฐาน ด้วยบททั้ง ๗ นี้ด้วยประการดังนี้ เพราะเหตุไร. เพราะพระองค์เป็นบัณฑิต ตรัสพรรณนาไว้เพื่อให้มหาชนเกิดความอุตสาหะ เหมือนพ่อค้าชื่อว่าวิสกัณฏกะผู้ค้าน้ำอ้อยงบฉะนั้น. คุฬวาณิชพ่อค้าน้ำตาลก้อน ชื่อว่าวิสกัณฏกวาณิช พ่อค้าน้ำอ้อยงบ.
ได้ยินว่า พ่อค้านั้นได้บรรทุกสินค้ามีน้ำตาลก้อนและน้ำตาลกรวดด้วยเกวียนแล้ว ไปยังหมู่บ้านชายแดนแล้วร้องโฆษณา (ขาย) ว่า พวกท่านจงมาซื้อเอาวิสกัณฏกะไป พวกท่านจงมาซื้อเอาวิสกัณฏกะไปดังนี้.
ความเป็นธรรมอย่างหนึ่ง ชื่อว่าเอกธรรม ธรรมอย่างหนึ่ง.
บทว่า เอกนฺตนิพฺพิทาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่ความหน่าย คือเพื่อประโยชน์แก่ความเบื่อระอาในวัฏฏะโดยส่วนเดียว.
บทว่า วิราคาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่การคลายกำหนัดในวัฏฏะ.
อีกอย่างหนึ่ง เพื่อสำรอก คือ เพื่อความไปปราศแห่งกิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น.
บทว่า นิโรธาย ได้แก่ เพื่อความดับกิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น คือเพื่อประโยชน์แก่การทำกิเลสมีราคะเป็นต้นมิให้ดำเนินต่อไป. อีกอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์แก่การดับวัฏฏะ.
บทว่า อุปสมาย เพื่อประโยชน์แก่การเข้าไปสงบกิเลส.
บทว่า อภิญฺญาย คือ เพื่อประโยชน์แก่การยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ มีความไม่เที่ยงเป็นต้นแล้วรู้ยิ่ง.
บทว่า สมฺโพธาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่การตรัสรู้สัจจะทั้ง ๔. อีกอย่างหนึ่ง คือ เพื่อประโยชน์แก่การแทงตลอดญาณในมรรคทั้ง ๔ ซึ่งพระองค์ตรัสไว้อย่างนี้ว่า ญาณในมรรคทั้ง ๔ เราเรียกว่า โพธิ การตรัสรู้.
บทว่า นิพฺพานาย ได้แก่ เพื่อประโยชน์แก่การทำให้แจ้งพระนิพพานซึ่งหาปัจจัย (ปรุงแต่ง) มิได้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพรรณนาพุทธานุสสติกรรมฐาน ด้วยบททั้ง ๗ นี้ด้วยประการดังนี้ เพราะเหตุไร. เพราะพระองค์เป็นบัณฑิต ตรัสพรรณนาไว้เพื่อให้มหาชนเกิดความอุตสาหะ เหมือนพ่อค้าชื่อว่าวิสกัณฏกะผู้ค้าน้ำอ้อยงบฉะนั้น. คุฬวาณิชพ่อค้าน้ำตาลก้อน ชื่อว่าวิสกัณฏกวาณิช พ่อค้าน้ำอ้อยงบ.
ได้ยินว่า พ่อค้านั้นได้บรรทุกสินค้ามีน้ำตาลก้อนและน้ำตาลกรวดด้วยเกวียนแล้ว ไปยังหมู่บ้านชายแดนแล้วร้องโฆษณา (ขาย) ว่า พวกท่านจงมาซื้อเอาวิสกัณฏกะไป พวกท่านจงมาซื้อเอาวิสกัณฏกะไปดังนี้.
ฝ่ายพวกชาวบ้าน ครั้นฟังคำโฆษณาแล้วจึงคิดกันว่า
ชื่อว่ายาพิษเป็นก้อนก็มีพิษร้ายแรง ผู้ใดเคี้ยวกินก้อนยาพิษนั้น ผู้นั้นย่อมตาย
แม้หนาม (ที่มีพิษ) แทงแล้วก็ย่อมตาย สินค้าแม้ทั้งสองเหล่านั้นก็เป็นก้อนแข็งๆ.
บรรดาสินค้าที่เป็นก้อนแข็งๆ เหล่านั้น จะมีอานิสงส์อะไร
ดังนี้แล้วให้ปิดประตูเรือนและไล่ให้เด็กๆ หลบหนีไป. พ่อค้าเห็นเหตุนั้นแล้วคิดว่า
พวกชาวบ้านเหล่านี้ ไม่เข้าใจในถ้อยคำ เอาละ เราจะให้พวกเขาซื้อสินค้าไปด้วยอุบาย
ดังนี้แล้ว จึงร้องโฆษณาว่า พวกท่านจงมาซื้อสินค้าอร่อยมาไป
พวกท่านจงมาซื้อสินค้าดีมากไป พวกท่านจะได้น้ำตาลงบ น้ำอ้อย
น้ำตาลกรวดอันมีราคาแพงไป.
พวกท่านจะซื้อแม้ด้วยทรัพย์มีมาสกเก่าหรือกหาปณะเก่าเป็นต้นก็ได้.
พวกชาวบ้านครั้นฟังคำโฆษณานั้นแล้ว ต่างก็ชื่นชมยินดี จับกลุ่มกันเป็นพวกๆ
ไปให้ทรัพย์มูลค่าราคาสูง ซื้อเอาสินค้ามาแล้ว.
ในเรื่องกรรมฐานนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอนกรรมฐานมีพุทธานุสสติเป็นอารมณ์ เปรียบเหมือนพ่อค้าชื่อว่าวิสกัณฏกะโฆษณาว่า พวกท่านจงซื้อเอาวิสกัณฏกะไป ดังนี้. การที่ทรงกระทำมหาชนให้เกิดความอุตสาหะในกรรมฐานนั้นด้วยการตรัสสรรเสริญคุณของพุทธานุสสติกรรมฐานด้วยบททั้ง ๗ นี้ เปรียบเหมือนพ่อค้ากล่าวสรรเสริญคุณวิสกัณฏกะ ทำให้มหาชนเกิดอุตสาหะเพื่อต้องการจะซื้อเอาวิสกัณฏกะนั้นฉะนั้น.
ปัญหาว่า กตโม เอกธมฺโม ดังนี้เป็นกเถตุกัมยตาปุจฉา คำถามที่พระองค์ตรัสถามเพื่อทรงตอบด้วยพระดำรัสว่า พุทฺธานุสฺสติ นี้เป็นชื่อของอนุสสติซึ่งเกิดขึ้นเพราะปรารภพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์.
ในเรื่องกรรมฐานนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอนกรรมฐานมีพุทธานุสสติเป็นอารมณ์ เปรียบเหมือนพ่อค้าชื่อว่าวิสกัณฏกะโฆษณาว่า พวกท่านจงซื้อเอาวิสกัณฏกะไป ดังนี้. การที่ทรงกระทำมหาชนให้เกิดความอุตสาหะในกรรมฐานนั้นด้วยการตรัสสรรเสริญคุณของพุทธานุสสติกรรมฐานด้วยบททั้ง ๗ นี้ เปรียบเหมือนพ่อค้ากล่าวสรรเสริญคุณวิสกัณฏกะ ทำให้มหาชนเกิดอุตสาหะเพื่อต้องการจะซื้อเอาวิสกัณฏกะนั้นฉะนั้น.
ปัญหาว่า กตโม เอกธมฺโม ดังนี้เป็นกเถตุกัมยตาปุจฉา คำถามที่พระองค์ตรัสถามเพื่อทรงตอบด้วยพระดำรัสว่า พุทฺธานุสฺสติ นี้เป็นชื่อของอนุสสติซึ่งเกิดขึ้นเพราะปรารภพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์.
ก็พุทธานุสสติกรรมฐานนั่นนั้นเป็น ๒ อย่าง
คือเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริง และเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา.
คำที่กล่าวนั้น เป็นอย่างไร.
คือ ในขณะใดภิกษุเจริญอสุภสัญญาในอสุภารมณ์ จิตตุปบาทถูกกระทบกระทั่ง เอือมระอา ไม่แช่มชื่น ไม่ไปตามวิถี ซัดส่ายไปทางโน้นทางนี้ เหมือนโคโกงฉะนั้น ในขณะนั้น จิตตุปบาทนั้นละกรรมฐานเดิมเสีย แล้วระลึกถึงโลกิยคุณและโลกุตรคุณของพระตถาคตโดยนัยว่า อิติปิ โส ภควา ดังนี้เป็นต้น.
เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่ จิตตุปบาทย่อมผ่องใส ปราศจากนิวรณ์. ภิกษุนั้นฝึกจิตนั้นอย่างนั้นแล้วจึงมนสิการกรรมฐานเดิมนั่นแหละอีก.
ถามว่า มนสิการกรรมฐานเดิมอีกอย่างไร.
ตอบว่า มนสิการกรรมฐานเดิม เหมือนบุรุษกำลังตัดต้นไม้ใหญ่เพื่อต้องการเอาไปทำช่อฟ้าเรือนยอด เมื่อคมขวานบิ่นไปเพราะเพียงตัดกิ่งและใบไม้เท่านั้น แม้เมื่อไม่อาจตัดต้นไม้ใหญ่ได้ ก็ไม่ทอดธุระ ไปโรงช่างเหล็กให้ทำขวานให้คม แล้วพึงตัดต้นไม้ใหญ่นั้นอีกฉันใด พึงทราบข้ออุปไมยนี้ฉันนั้น ภิกษุฝึกจิตด้วยอำนาจพุทธานุสสติอย่างนี้ได้แล้ว จึงมนสิการถึงกรรมฐานเดิมอีก ทำปฐมฌานมีอสุภเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น พิจารณาองค์ฌานทั้งหลาย ย่อมหยั่งลงสู่อริยภูมิได้อย่างนั้น. พุทธานุสสติกรรมฐานย่อมเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริง ด้วยประการอย่างนี้ก่อน. ก็ในกาลใด ภิกษุนั้นระลึกถึงพุทธานุสสติแล้ว ตามระลึกถึงโดยนัยเป็นต้นว่า โก อยํ อิติปิ โส ภควา แปลว่า บุคคลผู้นี้คือใคร แม้เพราะเหตุนี้ บุคคลผู้นั้นคือพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้เป็นต้น. กำหนดอยู่ว่าเขาเป็นสตรีหรือเป็นบุรุษ เป็นเทวดา มนุษย์ มาร พรหม คนใดคนหนึ่งหรือ ก็ได้เห็นว่า ผู้นี้หาใช่ใครอื่นไม่ จิตที่ประกอบด้วยสติเท่านั้นระลึกได้ดังนี้ แล้วกำหนดอรูปว่า ก็จิตนี้นั่นแลว่าโดยขันธ์เป็นวิญญาณขันธ์ เวทนาที่สัมปยุตด้วยจิตนั้นเป็นเวทนาขันธ์ สัญญาอันสัมปยุตด้วยจิตนั้นเป็นสัญญาขันธ์ ธรรมมีผัสสะเป็นต้นที่เกิดพร้อมกันเป็นสังขารขันธ์ (รวมความว่า) ขันธ์ ๔ เหล่านี้เป็นอรูปขันธ์ แล้วค้นหาที่อาศัยของอรูปนั้นก็ได้พบหทัยวัตถุ จึงพิจารณามหาภูตรูปทั้ง ๔ อันเป็นที่อาศัยของอรูปนั้นและอุปาทารูปที่เหลือ ซึ่งอาศัยมหาภูตรูปนั้นเป็นไปแล้วกำหนดรูปและอรูปโดยสังเขปว่า นี้เป็นรูปอันก่อนเป็นอรูป และกำหนดทุกขสัจในขันธ์ ๕ โดยเป็นประเภทอีกว่า โดยย่อขันธ์แม้ทั้ง ๕ เหล่านี้เป็นทุกขสัจ ดังนี้ ในเบื้องต้นกำหนดสัจจะทั้ง ๔ อย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นที่เกิดของทุกข์นั้นเป็นสมุทัยสัจ ความดับของทุกข์นั้นเป็นนิโรธสัจ ปฏิปทาเป็นเครื่องรู้ความดับเป็นมรรคสัจ แล้วก้าวลงสู่อริยภูมิโดยลำดับ.
ในกาลนั้น กรรมฐานนี้ทั้งหมดย่อมชื่อว่าเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา.
ในบทว่า อยํ โข เป็นต้น พึงทราบวาระแห่งอัปปนา โดยนัยดังกล่าวแล้วนั้นแล.
แม้ในธัมมานุสสติเป็นต้น ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
ก็ในข้อที่ว่าด้วยธัมมานุสสตินั่น มีความหมายของถ้อยคำดังต่อไปนี้
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภพระธรรม ชื่อว่าธัมธานุสสติ. คำว่า ธัมมานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติซึ่งมีพระธรรมคุณที่พระองค์ตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภพระสงฆ์ ชื่อว่าสังฆานุสสติ. คำว่า สังฆานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติซึ่งมีพระสังฆคุณมีความเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภศีล ชื่อว่าสีลานุสสติ. คำว่า สีลานุสสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีคุณของศีลมีความมีศีลไม่ขาดเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภจาคะ การบริจาค ชื่อว่าจาคานุสฺสติ. คำว่า จาคานุสสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีความเป็นผู้มีทานอันตนบริจาคแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภเทวดา ชื่อว่าเทวตานุสสติ. คำว่า เทวตานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติอันมีศรัทธาของตนเป็นอารมณ์ โดยตั้งเทวดาไว้ในฐานะเป็นสักขีพยาน.
คำที่กล่าวนั้น เป็นอย่างไร.
คือ ในขณะใดภิกษุเจริญอสุภสัญญาในอสุภารมณ์ จิตตุปบาทถูกกระทบกระทั่ง เอือมระอา ไม่แช่มชื่น ไม่ไปตามวิถี ซัดส่ายไปทางโน้นทางนี้ เหมือนโคโกงฉะนั้น ในขณะนั้น จิตตุปบาทนั้นละกรรมฐานเดิมเสีย แล้วระลึกถึงโลกิยคุณและโลกุตรคุณของพระตถาคตโดยนัยว่า อิติปิ โส ภควา ดังนี้เป็นต้น.
เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่ จิตตุปบาทย่อมผ่องใส ปราศจากนิวรณ์. ภิกษุนั้นฝึกจิตนั้นอย่างนั้นแล้วจึงมนสิการกรรมฐานเดิมนั่นแหละอีก.
ถามว่า มนสิการกรรมฐานเดิมอีกอย่างไร.
ตอบว่า มนสิการกรรมฐานเดิม เหมือนบุรุษกำลังตัดต้นไม้ใหญ่เพื่อต้องการเอาไปทำช่อฟ้าเรือนยอด เมื่อคมขวานบิ่นไปเพราะเพียงตัดกิ่งและใบไม้เท่านั้น แม้เมื่อไม่อาจตัดต้นไม้ใหญ่ได้ ก็ไม่ทอดธุระ ไปโรงช่างเหล็กให้ทำขวานให้คม แล้วพึงตัดต้นไม้ใหญ่นั้นอีกฉันใด พึงทราบข้ออุปไมยนี้ฉันนั้น ภิกษุฝึกจิตด้วยอำนาจพุทธานุสสติอย่างนี้ได้แล้ว จึงมนสิการถึงกรรมฐานเดิมอีก ทำปฐมฌานมีอสุภเป็นอารมณ์ให้เกิดขึ้น พิจารณาองค์ฌานทั้งหลาย ย่อมหยั่งลงสู่อริยภูมิได้อย่างนั้น. พุทธานุสสติกรรมฐานย่อมเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริง ด้วยประการอย่างนี้ก่อน. ก็ในกาลใด ภิกษุนั้นระลึกถึงพุทธานุสสติแล้ว ตามระลึกถึงโดยนัยเป็นต้นว่า โก อยํ อิติปิ โส ภควา แปลว่า บุคคลผู้นี้คือใคร แม้เพราะเหตุนี้ บุคคลผู้นั้นคือพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้เป็นต้น. กำหนดอยู่ว่าเขาเป็นสตรีหรือเป็นบุรุษ เป็นเทวดา มนุษย์ มาร พรหม คนใดคนหนึ่งหรือ ก็ได้เห็นว่า ผู้นี้หาใช่ใครอื่นไม่ จิตที่ประกอบด้วยสติเท่านั้นระลึกได้ดังนี้ แล้วกำหนดอรูปว่า ก็จิตนี้นั่นแลว่าโดยขันธ์เป็นวิญญาณขันธ์ เวทนาที่สัมปยุตด้วยจิตนั้นเป็นเวทนาขันธ์ สัญญาอันสัมปยุตด้วยจิตนั้นเป็นสัญญาขันธ์ ธรรมมีผัสสะเป็นต้นที่เกิดพร้อมกันเป็นสังขารขันธ์ (รวมความว่า) ขันธ์ ๔ เหล่านี้เป็นอรูปขันธ์ แล้วค้นหาที่อาศัยของอรูปนั้นก็ได้พบหทัยวัตถุ จึงพิจารณามหาภูตรูปทั้ง ๔ อันเป็นที่อาศัยของอรูปนั้นและอุปาทารูปที่เหลือ ซึ่งอาศัยมหาภูตรูปนั้นเป็นไปแล้วกำหนดรูปและอรูปโดยสังเขปว่า นี้เป็นรูปอันก่อนเป็นอรูป และกำหนดทุกขสัจในขันธ์ ๕ โดยเป็นประเภทอีกว่า โดยย่อขันธ์แม้ทั้ง ๕ เหล่านี้เป็นทุกขสัจ ดังนี้ ในเบื้องต้นกำหนดสัจจะทั้ง ๔ อย่างนี้ว่า ตัณหาเป็นที่เกิดของทุกข์นั้นเป็นสมุทัยสัจ ความดับของทุกข์นั้นเป็นนิโรธสัจ ปฏิปทาเป็นเครื่องรู้ความดับเป็นมรรคสัจ แล้วก้าวลงสู่อริยภูมิโดยลำดับ.
ในกาลนั้น กรรมฐานนี้ทั้งหมดย่อมชื่อว่าเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนา.
ในบทว่า อยํ โข เป็นต้น พึงทราบวาระแห่งอัปปนา โดยนัยดังกล่าวแล้วนั้นแล.
แม้ในธัมมานุสสติเป็นต้น ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
ก็ในข้อที่ว่าด้วยธัมมานุสสตินั่น มีความหมายของถ้อยคำดังต่อไปนี้
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภพระธรรม ชื่อว่าธัมธานุสสติ. คำว่า ธัมมานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติซึ่งมีพระธรรมคุณที่พระองค์ตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภพระสงฆ์ ชื่อว่าสังฆานุสสติ. คำว่า สังฆานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติซึ่งมีพระสังฆคุณมีความเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภศีล ชื่อว่าสีลานุสสติ. คำว่า สีลานุสสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีคุณของศีลมีความมีศีลไม่ขาดเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภจาคะ การบริจาค ชื่อว่าจาคานุสฺสติ. คำว่า จาคานุสสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีความเป็นผู้มีทานอันตนบริจาคแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภเทวดา ชื่อว่าเทวตานุสสติ. คำว่า เทวตานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติอันมีศรัทธาของตนเป็นอารมณ์ โดยตั้งเทวดาไว้ในฐานะเป็นสักขีพยาน.
สติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภลมหายใจเข้าออก ชื่อว่าอานาปานสติ. คำว่า
อานปานสติ นี้เป็นชื่อของสติอันมีลมหายใจเข้าและลมหายใจออกเป็นนิมิตเป็นอารมณ์.
สติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภความตาย ชื่อว่ามรณสติ. คำว่า มรณสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีการตัดขาดชีวิตินทรีย์เป็นอารมณ์.
เมื่อควรจะกล่าวว่าสติที่เป็นไปสู่รูปกายอันต่างด้วยผมเป็นต้น หรือที่เป็นไปในกาย ชื่อว่ากายคตา, กายคตาด้วย สตินั้นด้วย ชื่อว่ากายคตสติ แต่ท่านไม่ทำการรัสสะให้สั้น กลับกล่าวว่า กายคตาสติ ดังนี้ คำว่า กายคตาสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีส่วนของกายมีผมเป็นต้น เป็นนิมิตเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภความเข้าไปสงบระงับ ชื่อว่าอุปสมานุสสติ. คำว่า อุปสมานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติอันมีความเข้าไปสงบ ระงับทุกข์ทั้งปวงเป็นอารมณ์.
อีกอย่างหนึ่ง ความเข้าไปสงบระงับมี ๒ อย่างคือ อัจจันตุปสมะ ความเข้าไปสงบระงับโดยสุดยอด และขยูปสมะ ความเข้าไปสงบระงับโดยความสิ้นกิเลส.
ใน ๒ อย่างนั้น พระนิพพานชื่อว่าความสงบระงับโดยสุดยอด มรรคชื่อว่าความสงบระงับโดยความสิ้นกิเลส. ความหมายในอธิการนี้มีว่า สติอันเกิดขึ้นแก่ผู้ระลึกถึงความสงบ ระงับแม้ทั้งสองนี้ด้วยประการอย่างนี้ ชื่อว่าอุปสมานุสสติ.
ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.
สติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภความตาย ชื่อว่ามรณสติ. คำว่า มรณสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีการตัดขาดชีวิตินทรีย์เป็นอารมณ์.
เมื่อควรจะกล่าวว่าสติที่เป็นไปสู่รูปกายอันต่างด้วยผมเป็นต้น หรือที่เป็นไปในกาย ชื่อว่ากายคตา, กายคตาด้วย สตินั้นด้วย ชื่อว่ากายคตสติ แต่ท่านไม่ทำการรัสสะให้สั้น กลับกล่าวว่า กายคตาสติ ดังนี้ คำว่า กายคตาสติ นี้ เป็นชื่อของสติอันมีส่วนของกายมีผมเป็นต้น เป็นนิมิตเป็นอารมณ์.
อนุสสติที่เกิดขึ้นเพราะปรารภความเข้าไปสงบระงับ ชื่อว่าอุปสมานุสสติ. คำว่า อุปสมานุสสติ นี้เป็นชื่อของสติอันมีความเข้าไปสงบ ระงับทุกข์ทั้งปวงเป็นอารมณ์.
อีกอย่างหนึ่ง ความเข้าไปสงบระงับมี ๒ อย่างคือ อัจจันตุปสมะ ความเข้าไปสงบระงับโดยสุดยอด และขยูปสมะ ความเข้าไปสงบระงับโดยความสิ้นกิเลส.
ใน ๒ อย่างนั้น พระนิพพานชื่อว่าความสงบระงับโดยสุดยอด มรรคชื่อว่าความสงบระงับโดยความสิ้นกิเลส. ความหมายในอธิการนี้มีว่า สติอันเกิดขึ้นแก่ผู้ระลึกถึงความสงบ ระงับแม้ทั้งสองนี้ด้วยประการอย่างนี้ ชื่อว่าอุปสมานุสสติ.
ในกรรมฐาน ๑๐ เหล่านี้ กรรมฐาน ๓ อย่างนี้ คือ อานาปานสติ มรณสติ กายคตาสติ ย่อมเป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาอย่างเดียว กรรมฐานที่เหลือ ๗ อย่างเป็นประโยชน์แก่การทำจิตให้ร่าเริงด้วย เป็นประโยชน์แก่วิปัสสนาด้วย ด้วยประการฉะนี้.
จบอรรถกถาวรรคที่ ๑
พุทธานุสสติ
คือ การระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจาเนืองๆ องคธรรม (สภาพธรรมที่ทํา
หนาที่ระลึก) ไดแก สติเจตสิกที่ในมหากุศลจิต ที่มีคุณของพระพุทธเจาเปนอารมณ
วิธีการปฏิบัติ การระลึกนั้นจะระลึกเปนภาษาไทยหรือภาษาบาลีก็ได แตที่สําคัญก็คือตองเขาใจ
และรูถึงความหมายนั้นๆ สําหรับผูปฏิบัติใหมควรไปสูสถานที่สงัด รักษาจิตไวใหมั่นคง ไมถูกรบกวน
จิตไมฟุงซาน พระพุทธคุณมี ๙ ประการ ระลึกในบทพระพุทธคุณเปนภาษาบาลี ดังนี้
อิติป โส ภควา , อรหัง , สัมมาสัมพุทโธ , วิชชาจรณสัมปนโน , สุคโต , โลกวิทู , อนุตตโร
ปุริสทัมมสารถิ , สัตถา เทวมนุสสานัง , พุทโธ ,
ภควา ฯ
หรือระลึกเปนภาษาไทย ดังนี้คือ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น :-
พระพุทธคุณประการที่ ๑ ผูเปนพระอรหันต (อรหัง)
สักการบูชาเปนพิเศษจากมวลมนุษย เทวดา พรหม
ทั้งหลาย
พระพุทธคุณประการที่ ๒ ผูตรัสรูไดดวยพระองคเองโดยชอบ (สัมมาสัมพุทโธ)
เพราะทรงฆาอวิชชา เพราะเปนผูตรัสรูเญยยธรรม ๕
ประการ คือ สังขาร วิการ ลักขณะ
นิพพาน บัญญัต ิ ดวยอํานาจแหงพระสัพพัญุตญาณโดยลําพังพระองคเองอยางถูกถวน
พระพุทธคุณประการที่ ๓ ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ (วิชชาจรณสัมปนโน)
เปนผูถึงพรอมดวยความรูและการปฏิบัติอยางประเสริฐ คือ
วิชชาและจรณะ
วิชชา หมายถึง ความรู จรณะ หมายถึง ความประพฤติ
คําวา วิชชา มีวิชชา ๓ และวิชชา ๘
คําวา วิชชา มีวิชชา ๓ และวิชชา ๘
วิชชา ๓ ไดแก
๑. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติได
๒. จุตูปปาตญาณ (หรือ ทิพยจักขุญาณ)
รูการตายและเกิดของสรรพสัตวทั้งหลาย
๓. อาสวักขยญาณ รูในธรรมที่สิ้นอาสวะ
วิชชา ๘ ไดแก
๑. วิปสสนาญาณ ปญญาที่สามารถรูแจงรูปนามทั้งปวงที่มีสภาพเปน
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
๒. อิทธิวิธญาณ ปญญาที่สามารถแสดงฤทธิ์ตางๆ ได
๓. มโนมยิทธิญาณ ปญญาที่สามารถเนรมิตรางกายอื่นๆ ใหเกิดขึ้นภายในรางกายของตน
๔. ปพเพนิวาสานุสสติญาณ ปญญาที่สามารถระลึกชาติในอดีตได
๕. เจโตปริยญาณ ปญญาที่สามารถรูจิตใจของบุคคลอื่นๆไดอยางถี่ถวน
๖. ทิพพจักขุญาณ ปญญาที่สามารถเห็นสิ่งตางๆ ในที่หางไกล หรือเล็กที่สุดได
อยางทะลุปรุโปรง ไมวาจะอยูในที่แจง หรือ ลี้ลับกําบังไว
อยางมิดชิดประการใดๆ
ก็ตาม ยอมสามารถเห็นไดเปนอยางดี
เหมอนก ื ับตาของเทวดาและพรหมทั้งหลาย
๗. ทิพพโสตญาณ ปญญาที่สามารถไดยินเสียงในที่หางไกล หรือเบาที่สุด
เหมือนกับหูของเทวดาและพรหมทั้งหลาย
๘. อาสวักขยญาณ ปญญาที่สามารถทําลายกิเลสอาสวะใหหมดไปโดยสิ้นเชิง
จรณะ หมายความวา ความประพฤติ จรณะ มี ๑๕ คือ
๑. ศรัทธา เชื่อตอการงานของสัตวทั้งหลายวา เปนบุญก็มี เปนบาปก็มี และจะ
ไดรับผลของ บุญ บาป นั้นอยางแนแท เชื่อในคุณของพระรัตนตรัย
วามีจริง เชื่อวาเคยเกิดมาแลวในภพกอนๆ
๒. สติ มีการระลึกอยูในการงานที่เปนฝายดี
๓. หิริ มีความละอายในการงานอันเปนทุจริตทุราชีพ
๔. โอตตัปปะ มีความสะดุงกลัวในการงานที่เปนทุจริตทุราชีพ
๕. วิริยะ มีความขยันในการงานที่เปนฝายด ี
๕. วิริยะ มีความขยันในการงานที่เปนฝายด ี
๖. สุตะ เคยฟง เคยเห็นมามาก
๗. ปญญา การเฉลียวฉลาดในกิจการทั้งปวง
๘. โภชเนมัตตัญญุตา รูจักประมาณในการบริโภค
๙. ชาคริยานุโยค ตื่นไวในยามหลับ หรือ
มีการหลับนอนนอย
๑๐. ศีล มีศีลสมบูรณ
๑๑. อินทรียสังวร การสํารวมในทวาร ๖
๑๒. ปฐมฌาน ฌานที่มีองคฌาน ๕
๑๓. ทุติยฌาน ฌานที่มีองคฌาน ๓
๑๔. ตติยฌาน ฌานที่มีองคฌาน ๒
๑๕. จตุตถฌาน ฌานที่มีองคฌาน ๒
พระพุทธคุณประการที่ ๔ เสด็จไปดีแลว (สุคโต)
เพราะทรงบรรลุหนทางที่ดี เพราะจะไมเสด็จกลับมา(สูโลกนี้)อีก
เพราะทรงบรรลุความดับโดย
ไมมีภาวะเหลืออยู (อนุปาทิเสสนิพพาน
คือ ดับกิเลสทั้งหมดส้นพร ิ อมขันธ ๕) เพราะคําสอนของพระ
พุทธองคไมมีใครสามารถเปลี่ยนแปลงได เพราะคําสอนของพระพุทธองคไมมากไมนอยเกินไป ดวย
เหตุนี้พระพุทธองคจึงทรงไดรับพระนามวา สุคโต
พระพุทธคุณประการที่ ๕ ทรงรูแจงโลก (โลกวิทู)
โลก มี ๓ คือ
๑. สัตตโลก (โลกคือ หมูสัตว)
๒. สังขารโลก (โลกคือ สังขาร)
๓. โอกาสโลก (โลกคือ ที่ตั้ง)
สัตตโลก คือ พระผูมีพระภาคเจาทรงรูแจงสัตตโลกตลอดเวลาที่บําเพ็ญพุทธกิจ
ที่วาทรงรูแจง
สัตตโลก คือ ทรงรูแจงความปรารถนาตางๆ ของสัตวทั้งหลาย ทรงรูความตางกันแหงอินทรียของหมูสัตว
สังขารโลก คือ พระผูมีพระภาคเจาทรงรูแจงกรรมทุกอยาง ทรงรูแจงกุศลธรรม อกุศลธรรม
และอัพยากตธรรม ทรงรูแจงขันธ อายตนะ ธาตุ พระพุทธเจาทรงรูแจงในธรรมทุกประการ
โอกาสโลก คือ พระผูมีพระภาคเจาทรงทราบวา จักรวาลหนึ่งกวางยาว ประมาณ
โอกาสโลก คือ พระผูมีพระภาคเจาทรงทราบวา จักรวาลหนึ่งกวางยาว ประมาณ
๑,๒๐๓.๔๕๐
โยชน วัดโดยรอบ ประมาณ ๓,๖๑๐,๓๕๐ โยชน ในจักรวาลมีแผนดินหนาประมาณ
๒๔๐,๐๐๐ โยชน บนแผนดินมีน้ำตั้งอยูบนลมรองรับไวโดยความหนาประมาณ ๔๘๐,๐๐๐
โยชน มีลม
รองรับใหจักรวาลนี้ลอยอยูได ประมาณ ๙๖๐,๐๐๐ โยชน เปนตน
พระพุทธคุณประการที่ ๖ เปนสารถีฝกบุรษผุ ูควรฝกที่ยอดเยี่ยม (อนุตตโร
ปุริสทัมมสารถิ)
คําวา “ยอดเยี่ยม” (อนุตตโร) เพราะไมมีใครเหนือกวาในโลก เพราะปราศจากคนที่เสมอ เพราะ
ทรงเปนผูยอดเยี่ยมที่สุด เพราะหาใครเทียบไมได และเพราะไมมีบุคคลอื่นยอดเยี่ยมกวา
คําวา “เปนสารถีฝกบุรุษผูควรฝก” (ปุริสทัมมสารถิ) บุคคลมี ๓ จําพวก คือ
๑. บุคคลฟงธรรมแลวสามารถอธิบายธรรมนั้นได
๒. บุคคลอธิบายหลักแหงเหตุและปจจัยได
๓. บุคคลทําใหปุพเพนิวาสานุสสติญาณชัดแจง
พระผูมีพระภาคเจา เมื่อทรงรูแจงอริยมรรคมีองค ๘ อันเปนทางแหงความ หลุดพนแลว ทรง
สั่งสอนเวไนยสัตว(บุคคล)ทั้งหลาย ทรงฝกมนุษย เทวดา พรหมทั้งหลาย แมแตสัตวเดรัจฉานทั้งหลาย
โดยวิธีการตางๆ ทั้งปลอบโยน ทรมาน ยกยอง ตามควร ตามความเหมาะสมแกอัธยาศัยของสัตวนั้นๆ
พระพุทธคุณประการที่ ๗ เปนศาสดาของเทวดาและมนุษย (สัตถา
เทวมนุสสานัง)
พระผูมีพระภาคเจาทรงพร่ำสอนเวไนยสัตว ดวยประโยชนโลกนี้ ประโยชนโลกหนา และ
ประโยชนอยางยิ่ง คือพระนิพพาน ตามสมควร
พระพุทธคุณประการที่ ๘ ผูรูผูตื่น ผเบู ิกบานดวยธรรม (พุทโธ)
พระผูมีพระภาคทรงรูอะไรๆ ที่ควรรู ซึ่งมีอยูอยางทั่วถวน ดวยอํานาจพุทธญาณ ๑๘ คือ
๑. พระผูมีพระภาคเจาทรงหยั่งรูอดีตทั้งปวง
๒. พระผูมีพระภาคเจาทรงหยั่งรูอนาคตทั้งปวง
๓. พระผูมีพระภาคเจาทรงหยั่งรูปจจุบันทั้งปวง
๔. กายกรรมทั้งหมด ที่ดําเนินไปดวยญาณและปรากฏสอดคลองกับญาณนั้น
๕. วจีกรรมทั้งหมด ที่ดําเนินไปดวยญาณและปรากฏสอดคลองกับญาณนั้น
๖. มโนกรรมทั้งหมด ที่ดําเนินไปดวยญาณและปรากฏสอดคลองกับญาณนั้น
๗. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงฉันทะ
๘. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงวิริยะ
๘. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงวิริยะ
๙. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงสติ
๑๐. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงสมาธิ
๑๑. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงปญญา
๑๒. พระผูมีพระภาคเจาไดทรงบําเพ็ญพุทธธรรม คือ ความไมเสื่อมแหงวิมุตติ
๑๓. พระผูมีพระภาคเจา มีความไมมีการเลน ทาทางของพระองคมีลักษณะผึ่งผาย
ไมมีอะไรที่
ไมสมควรในกิจกรรมของพระองค
๑๔. พระผูมีพระภาคเจา ไมมีความหลอกลวง
๑๕. ไมมีอะไรที่พระญาณของพระองคไมสามารถรับรูได
๑๖. พระผูมีพระภาคเจา ไมมีความหุนหันพลันแลน
๑๗. พระผูมีพระภาคเจา ไมมีสภาพที่ไมรู
๑๘. พระผูมีพระภาคเจา ไมมีสภาพแหงอุเบกขาที่ปรากฏโดยพระองคไมรู
พระพุทธคุณประการที่ ๙ ภควา
เพราะพระพุทธองคไดรับการยกยองจากชาวโลก เพราะบรรลุอริยสัจ เพราะทรงเปนผูควรแก
ของถวาย เพราะจะทําใหผูถวายไดรับความดีสูงสุด เพราะพระพุทธองคทรงเปนเจาของมรรคสัจ
ผูเจริญพุทธานุสสติยอมเปนผูที่ขัดเกลาจิตใจไมใหราคะ โทสะ โมหะกลุมรุมได เพราะจตใจม ิ ุง
ตรงตอพระพุทธเจา จิตของผูมีพระพุทธคุณเปนอารมณ ยอมเปนสมาธิไดเพียงอุปจารสมาธิเทานั้น
เพราะการระลึกพุทธคุณมีมากประการ
สมาธิจึงไมตั้งมั่นเปนหนึ่งเดียวได จึงไมถึงอัปปนาสมาธิ
อานิสงสของพุทธานุสสติ
ผูที่เจริญพุทธานุสติ
จะไดรับอานิสงสดังนี้ คือ
๑. ยอมเปนผูมีความเคารพยําเกรงในพระศาสดา
๒. มีความไพบูลยแหงศรัทธา
๓. มความไพบ ี ูลยแหงสติ
๔. มีความไพบูลยแหงปญญา
๕. มีความปติปราโมทย
๖. สามารถอดกลั้นทุกขได
๗. ทนความกลัวในอารมณที่นากลัวได
๘. มีความรูสึกเสมือนวาไดอยูใกลพระศาสดา
๙. รางกายของผูเจริญพุทธานุสสติอยางดีแลว ยอมเปนของที่ควรแกการบูชาของมนุษย และ
๙. รางกายของผูเจริญพุทธานุสสติอยางดีแลว ยอมเปนของที่ควรแกการบูชาของมนุษย และ
เทวดาประดุจดังเรือนเจดีย
๑๐. จิตจะนอมไปสูพุทธภูมิ
๑๑. แมประสบกับสิ่งที่จะทําใหลวงละเมิด หรือทําความผิดได ก็จะเกิดหิริโอตตัปปะ มีความ
กลัวและละอายตอบาป ประดุจวาพระพุทธองคประทับอยูตรงหนา
๑๒. หากยังไมสามารถสําเร็จมรรคผลนิพพาน ก็จะไปสูสุคติ
การเจริญพุทธานุสติ ใหเห็นคุณของพระพุทธเจานั้นไมควรพร่ำบนแตปาก แตควรนึกถึง
เนื้อความ ความหมายของพุทธคุณ อยามุงถือตามตัวอักษรหรือพยัญชนะ จะทําใหไมเห็นพุทธคุณ การ
ระลึก จะระลึกทุกบท
หรือบทใดบทหนึ่งก็ได ปุถุชนทั่วไปมีความเขาใจพุทธคุณไดนอย มักจะใชพุทธคุณ
เปนคาถาเพื่อความขลังความศักดิ์สิทธิ์มากกวาจะระลึกถึงดวยความเคารพ เชน ใชบทสวด อิติป โส
เดินหนาถอยหลัง หรือใชหัวใจ อิติป โส เปนคาถาในการปลุกเสกทําพิธี หรือทําใหขลัง เปนตน ผูที่จะ
มองเห็นพุทธคุณโดยชัดแจง ก็คือพระอริยบุคคลตั้งแตพระโสดาบันขึ้นไป เพราะเปนผูเห็นธรรมเขา ถึง
ซึ่งธรรมโดยการปฏิบัติเอง
ปุถุชนทั่วไปถาตองการใหซาบซึ้งในพระพุทธคุณก็ตองศึกษาทั้งปริยัติ
(ทฤษฎี) และปฏิบัติ
เพื่อจะไดเขาถงขึ อธรรมที่ทรงแสดงทั้งศีล
สมาธิ ปญญา จะศึกษาโดยไม
ปฏิบัติไมได ควรระลึกไววาพระอริยบุคคล ผูบรรลุมรรคผล ทานก็เคยเปนปุถุชนมากอน แตเพราะได
ศึกษา ไดปฏิบัติธรรมตามคําสอนของพระพุทธองคจึงไดเห็นแจงปรากฏชัดในพระพุทธคุณ
จบ
พุทธานุสสติ
ธัมมานุสสติ
หมายความวา การระลึกถึงคุณของพระธรรม มี
สวากขาโต เปนตน อยูเนือง
ธรรม หมายถึง
ความดับ(นิพพาน) หรือขอปฏิบัติอันเปนเหตุใหบรรล ุถึงนิพพาน
การทําลาย
กิจกรรมทุกอยาง การละกิเลสทุกอยาง
การกําจัดตัณหา ความเปนผูบริสุทธิและสงบ
ขอปฏิบัติที่นําไปสูความดับ ไดแก สติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔
อินทรีย ๕ พละ ๕
โพชฌงค ๗ มรรคมีองค ๘
วิธีการปฏิบัติ ผูปฏิบัติตองมีความสงบนิ่งอยูกับการระลึก มีความตระหนักรูคุณของพระธรรม
เขาใจในความหมายของธรรมคุณนั้นๆ ดวย ไปสูสถานที่สงัด
รักษาจิตไวไมใหถูกรบกวน ธัมมานุสสติ มี
๖ ประการ จะระลึกเปนภาษาบาลี หรือ ภาษาไทยก็ได ระลึกดังนี้วา
สวากขาโต ภควตาธัมโม , สันทิฏฐิโก , อกาลิโก , เอหิปสสิโก , โอปนยิโก , ปจจัตตัง เวทิตัพโพ
สวากขาโต ภควตาธัมโม , สันทิฏฐิโก , อกาลิโก , เอหิปสสิโก , โอปนยิโก , ปจจัตตัง เวทิตัพโพ
วิญญูหิ ฯ
ระลึกเปนภาษาไทยวา :-
พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว เปนสิ่งที่บุคคลพึงเห็นไ ดดวยตนเอง ไมขึ้นอยูกับ
กาลเวลา ควรเชื้อเชิญใหมาดู ควรนอมเขามาใสตน อันวิญญูชนทั้งหลายพึงรูไดเฉพาะตน
พระธรรมคุณประการที่ ๑
พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสไวดีแลว (สวากขาโต ภควตา ธัมโม)
เพราะพระธรรมนั้นเวนที่สุดโตงทั้ง ๒ ไมมีความขัดแยงกันในพระธรรม
แล ะพระธรรมนั้น
ประกอบดวยความดี พระธรรมนั้นปราศจากขอเสียโดยสิ้นเชิง พระธรรมนั้นยอมนําสัตวทั้งหลายไปสูความ
ดับ(นิพพาน)
พระธรรมคุณประการที่ ๒ เปนสิ่งที่บุคคลพึงเห็นไดดวยตนเอง (สันทิฏฐโกิ )
เพราะวาผูปฏิบัติธรรมสามารถบรรลุมรรคและผลไดตามลําดับ เพราะบุคคลยอมเห็นแจงพระ
นิพพานและมรรคผล
พระธรรมคุณประการที่ ๓ ไมขึ้นอยกูับกาลเวลา
(อกาลิโก)
คือ ผลยอมเกิดขึ้น โดยไมมีการรอเวลา
พระธรรมคุณประการที่ ๔ ควรเชื้อเชิญใหมาดู (เอหิปัสสิโก)
พระธรรม ๙ อยาง มีมรรค ๔ ผล ๔ และนิพพาน ๑ เปนธรรมที่ควรแกการ
เชื้อเชิญชนทั้งหลาย
ใหมาชมได โดยกลาวคําวา ทานจงมาดูเถิด มาเเลดูคุณคาของพระธรรม
พระธรรมคุณประการที่ ๕ ควรนอมเขามาใสตน (โอปนยิโก)
พระธรรม ๙ อยาง มีมรรค ๔ ผล ๔ และนิพพาน ๑ เปนธรรมที่ควรยึดหนวงใหมาปรากฏแกใจ
แมที่สุดจะถูกไฟไหมศีรษะ
ก็มิยอมที่จะทําการดับไฟนั้น โดยเหตุวา ธรรมเหลานี้เมื่อปรากฏขึ้นแลวเพียง
ครั้งเดียวก็สามารถปดประตูอบายได
พระธรรมคุณประการที่ ๖ อันวิญญูชนทั้งหลายพึงรูไดเฉพาะตน (ปจจัตตัง
เวทิตัพโพ วิญญูหิ)
ถา
บุคคลยอมรับพระธรรมนั้น ไมยอมรับลัทธิอื่น
เขายอมทําความรูในนิโรธใหเกิดขึ้น ยอมทําพระ
นิพพานใหเกิดขึ้น ทําความรูในวิมุตติใหเกิดขึ้น
ผูปฏิบัติระลึกถึงพระธรรม โดยวิธีอื่นๆ ไดอีกดังนี้ คือ
ผูปฏิบัติระลึกถึงพระธรรม โดยวิธีอื่นๆ ไดอีกดังนี้ คือ
พระธรรมนั้นเปนดวงตา เปนความรู เปนความสงบ เปนหนทางที่นําไปสูอมตะ (นิพพาน)
พระ
ธรรมนั้นเปนการหลีกออก เปนเครื่องอํานวยความสะดวกใหบรรลุถึงนิโรธ (ความดับทุกข) เปนหนทางสู
ทิพยภาวะ (เปนทิพยหรือคุณวิเศษ) เปนการไมถอยกลับ เปนสิ่งประเสริฐที่สุด เปนความสงัด เปนความ
วิเศษ พระธรรมเปนการขามไปสูฝงโนน เปนที่พึ่ง ผูปฏิบัตินั้นระลึกถึงพระธรรมดวยวิธีการเหลานี้ โดย
อาศัยคุณความดีเหลานี้
การเจริญธัมมานุสสติไดเพียงอุปจารสมาธิเทานั้น
เพราะอารมณในการเจริญมีมาก จิตจึงไมอาจ
ตั้งมั่นจนทําใหอัปปนาสมาธิเกิดขึ้นได อานิสงสของธัมมานุสสติเหมือนกันกับพุทธานุสสติ
จบธัมมานุสสติ
สังฆานุสสติ
หมายความวา การระลึกถึงคุณของพระสงฆ มี สุปฏิปนโน เปนตน อยูเนืองๆ
องคธรรมไดแก สติเจตสิกที่ในมหากุศลจิต ที่มีคุณของพระสงฆเปนอารมณ
พระสงฆมี ๒ จําพวก คืออริยสงฆ และสมมติสงฆ
อริยสงฆ คือ ทานที่ดํารงอยูในมรรค ๔ ผล ๔
สมมติสงฆ คือพระสงฆโดยสมมติ ไดแกภิกษุตั้งแต ๔ รูป ที่สามารถทําสังฆกรรมได
พระสงฆมีคุณเพราะทานเปนผูรักษาและสืบทอดคําสอนของพระพุทธเจา ทั้งยังเปนบุญเขต
เปนเนื้อนาบุญของโลก
วิธีการปฏิบัติ ควร ไปสูสถานที่สงัด รักษาจิตไวไมใหถูกรบกวน พระสังฆคุณมี ๙ ประการ
จะระลึก
เปนภาษาบาลี หรือ ภาษาไทยก็ได ระลึกดังนี้วา :-
สุปฏิปนโน ภควโต สาวกสังโฆ , อุชุปฏิปนโน ภควโต
สาวกสังโฆ , ญายปฏิปนโน ภควโต
สาวกสังโฆ , สามีจิปฏิปนโน ภควโต สาวกสังโฆ ยทิทัง จัตตาริ ปุริสยุคานิ อัฏฐปุริสปุคคลา เอสะ
ภควโต สาวกสังโฆ , อาหุเนยโย , ปาหุเนยโย ,
ทักขิเณยโย , อัญชลีกรณีโย , อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง
โลกัสสะ ฯ
ระลึกเปนภาษาไทยดังนี้ :-
พระสังฆคุณประการที่ ๑ พระสงฆสาวกผูปฏิบัติดี (สุปฏิปนโน)
พระสังฆคุณประการที่ ๑ พระสงฆสาวกผูปฏิบัติดี (สุปฏิปนโน)
หมูพระสงฆผูปฏิบัติดี โดยปฏิปทาอันถูกตอง เปนขอปฏิบัติตรง คือไมคด ไมโกง ไมโคง เปน
การปฏิบัติที่ไกลจากกิเลส เปนเหตุใหรูแจง
พระสังฆคุณประการที่ ๒ พระสงฆสาวกผูปฏิบัติตรง
(อุชุปฏิปนโน)
ช่อวื าปฏิบัติดีและปฏิบัติตรงตามปฏิปทาอันถูกตอง เพราะเวนทางสุดโตงทั้ง ๒ และถือเอาทาง
สายกลาง ชื่อวาปฏิบัติดีและปฏิบัติตรง เพราะปราศจากกายกรรมและวจีกรรมที่ไมสะอาด
พระสังฆคุณประการที่ ๓ พระสงฆสาวกผูปฏิบัติเพื่อรูธรรมเปนเครื่องออกจากทุกข (ญายปฏิปนโน)
พระอริยสงฆสาวกของพระพุทธเจา เปนผูปฏิบัติมุงตอพระนิพพาน อันเปนอมตธรรม ไมมีการ
ปรารถนาอยากไดภวสมบัติ และโภคสมบัติแตอยางใด
พระสังฆคุณประการที่ ๔ พระสงฆสาวกผูปฏิบัติสมควร
(สามีจิปฏิปนโน)
ชื่อวาปฏิบัติสมควร เพราะสมบูรณดวยขอปฏิบัติที่พรอมเพรียงกันในหมูภิกษุ เพราะเมื่อเห็น
อานิสงสอยางมากแหงคุณความดี และการเพิ่มพูนคุณความดีที่เกิดจากความสามัคคี
จึงรักษาความ
สามัคคีนี้ไว ไดแก บุคคลเหลานี้คือ คูแหงบุรุษ ๔ คู นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ (ยทิทัง
จัตตาริ ปุริสยุคา
นิ อัฏฐปุริสปุคคลา.....)
พระอริยสงฆจัดไดเปน ๔ คู ๘ บุคคล คือ
คูที่ ๑ ไดแก โสดาปตติมรรคบุคคล โสดาปตติผลบุคคล
คูที่ ๒ ไดแก สกทาคามิมรรคบุคคล สกทาคามิผลบุคคล
คูที่ ๓ ไดแก อนาคามิมรรคบุคคล อนาคามิผลบุคคล
คูที่ ๔ ไดแก อรหัตตมรรคบุคคล อรหัตตผลบุคคล
พระสังฆคุณประการที่ ๕ พระสงฆสาวกผูควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา (อาหุเนยโย)
พระอริยสงฆสาวก ๔ คู ๘ บุคคลของพระผูมีพระภาคเจานั้น สามารถใหผลเกิดขึ้นอยาง
มหาศาล ดังนั้น จึงเปนผูควรรับอามิสบูชาที่เขานํามา
พระสังฆคุณประการที่ ๖ พระสงฆสาวกผูควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ (ปาหุเนยโย)
พระสังฆคุณประการที่ ๖ พระสงฆสาวกผูควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ (ปาหุเนยโย)
พระอริยสงฆสาวก ๔ คู ๘ บุคคลของพระผูมีพระภาคเจานั้น เปนแขกที่ประเสริฐสุดของคนทั่ว
โลก เพราะมีแตในสมัยของพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงอุบัติขึ้นเทานั้น ดังนั้น
จึงเปนผูที่ควรแกการตอนรับ
ดวยปจจัย ๔ ที่เขาจัดไวตอนรับ
พระสังฆคุณประการที่ ๗ พระสงฆสาวกผูควรรับทักขิณาทาน
(ทักขิเณยโย)
พระอริยสงฆสาวก ๔ คู ๘ บุคคลของพระผูมีพระภาคเจานั้น สามารถใหอานิสงสผลเกิดขึ้นตาม
ความประสงคของคนทั้งหลายได ดังนั้น
จึงควรแกการรับทักขิณาทาน คือ
การบริจาคทานของผูมีความ
ปรารถนาภวสมบัติ โภคสมบัติ
ที่เกี่ยวกับตน หรือ คนอื่นในภพหนา
พระสังฆคุณประการที่ ๘ พระสงฆสาวกผูควรแกการกราบไหว (อัญชลีกรณีโย)
พระอริยสงฆสาวก ๔ ค ู๘
บุคคลของพระผูมีพระภาคเจานั้น เปนผูประกอบดวย ศีล สมาธิ
ปญญา ดังนั้น จึงสมควรแกการกระทําอัญชลีของมนุษย เทวดา พรหมทั้งหลาย
พระสังฆคุณประการที่ ๙ พระสงฆสาวกผูเปนเนื้อนาบุญของโลก ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ( อนุตตรัง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ)
พระอริยสงฆสาวก ๔ คู ๘ บุคคลของพระผูมีพระภาคเจานั้น เปนเนื้อนาบุญอันประเสริฐ เปน
บุญเขตที่สรรพสัตวทั้งหลายจะไดรับบุญ เมื่อหวานพืชแหงบุญลงไปบนผืนนานี้แมเพียงเล็กนอย แตก็จะ
ไดรับผลมากมาย
ก ารเจริญสังฆานุสสติ
จะพิจารณาเพียงบทใดบทหนึ่งก็ได จะไดบรรลุเพียง อุปจารสมาธิ อานิสงส
ของสังฆานุสสติ เชนเดียวกับ พุทธานุสสติและธัมมานุสสติ
จบสังฆานุสสติ
พุทธานุสสติ
เป็น
วิปัสสนาญาณ
วันนี้ก็จะขอพูดเรื่อง พุทธานุสสติ ต่อ เพราะว่า
พุทธานุสสติตามที่อธิบายมาแล้ว เราจัดเป็นระดับ 4 ระดับด้วยกัน
คือ
อันดับแรก การพิจารณาตามแบบ คือ พิจารณาความดีของพระพุทธเจ้า
โดยใช้คำว่า อิติปิ โส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทโธ เป็นต้น
ใช้จิตใคร่ครวญในด้านจริยาของพระองค์ สร้างความเลื่อมใสให้เกิด
สร้างความผูกใจให้เกิดในพระพุทธเจ้า อย่างนี้ผลจะพึงมีได้เพียงแค่อุปจารสมาธิ
ถ้าเราจะทำพุทธานุสสติกรรมฐานให้เป็นฌานสมาบัติ
ท่านสอนให้จับภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งที่เราพอใจเวลาภาวนาไปว่าพุทโธ หรือ
อรหัง ก็ตาม เอาจิตนึกถึงภาพนั้นเป็นอารมณ์
อย่างนี้ถือว่าเอาภาพพระพุทธรูปเป็นกสิณ ถ้าปฏิบัติแบบนี้ก็สามารถทรงเข้าถึงฌานที่
4 ได้ จัดว่าเป็นรูปฌาน
ถ้าจะทำพุทธานุสสติให้เป็นอรูปฌาน เป็นสมาบัติ 8 ก็ให้จับรูปภาพพระพุทธรูปนั้นทรงอารมณ์จิต ให้เข้าถึงฌาน 4 เมื่อทรงจิตสบายดีแล้วก็เพิกภาพกสิณนั้นทิ้งไป คือ ถอนภาพออกจากใจ
พิจารณาอากาศวิญญาณ ความไม่มีอะไรทั้งหมด แล้วสัญญาหรือไม่มีสัญญา ที่เรียกว่า
อากาสานัญจายตนยะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ
ไม่พิจารณารูปเป็นสำคัญ ไม่ต้องการรูป ต้องการแต่นามฝ่ายเดียว
เพราะท่านที่ปฏิบัติแบบนี้ เพราะมีความรังเกียจในรูป
ถือว่ารูปเป็นปัจจัยนำมาซึ่งความทุกข์ เกิดไปชาติหน้าไม่ต้องการรูปอีก
และเป็นสมถภาวนาจัดเป็น อรูปฌาน
ในอันดับนี้ เราต้องการจะใช้ พุทธานุสสติกรรมฐาน ให้เป็นวิปัสสนาญาณ
ท่านก็ให้ตั้งอารมณ์จิตของเรายึดภาพพระพุทธรูปเป็นอารมณ์
ทำภาพให้เห็นชัดด้วยจิตเป็นสมาธิถึงฌาน 4
แล้วก็สามารถจะบังคับรูปนั้นให้เล็กก็ได้ ให้โตก็ได้ แล้วบังคับให้หายก็ได้
สลับกันไปสลับกันมาอย่างนี้ แล้วก็จับภาพนั้นเป็นอารมณ์
พิจารณาว่าพระรูปพระโมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านี้
ความจริง พระพุทธเจ้าทรงเป็นอัจฉริยมนุษย์ เป็นผู้ประเสริฐสุด
มนุษย์ผู้มีความอัศจรรย์ ไม่มีบุคคลใดจะเสมอเหมือน
แต่ว่าพระรูปพระโฉมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ในสมัยที่มีชีวิตอยู่ ก็มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น มีความเปลี่ยนแปลงไปในท่ามกลาง
มีการสลายตัวไปในที่สุด ถึงแม้ว่าพระองค์จะเป็นผู้ประเสริฐกว่ามนุษย์ เทวดา หรือ
พรหมก็ตาม ก็ไม่สามารถจะทรงขันธ์ 5
ให้ยืนยงคงอยู่ได้ตลอดกาลตลอดสมัย เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว ก็มีความเสื่อมไปในท่ามกลาง
มีการสลายตัวไปในที่สุด
ทีนี้มานั่งมองตัวของเราเอง พิจารณาตัวของเราเองว่า
พระพุทธเจ้านะดีกว่าเราหลายล้านเท่า ความดีของเราหยดหนึ่งในหลายล้านเท่าของท่านก็ไม่ได้
ในเมื่อขันธ์ 5
ขององค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดา ก็ไม่สามารถจะทรงอยู่ได้ เราซึ่งมีความดีไม่ถึง
ขันธ์ 5 มันจะทรงอยู่ได้ยังไง มันก็ต้องมีความเกิดขึ้น
มีการสลายตัวไปในที่สุดเหมือนกัน ขณะที่ทรงตัวอยู่ก็เต็มไปด้วยอำนาจของความทุกข์
นี่ มองเห็นขันธ์ 5 ของพระพุทธเจ้าว่า
ไม่มีความจีรังยั่งยืน แล้วก็เข้ามาเปรียบเทียบกับขันธ์ 5 ของเรา
ที่พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ขันธ์ 5 นี่
มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในขันธ์ 5 ขันธ์ 5 ไม่มีในเรา
ขันธ์ 5 คือ
ร่างกายประกอบไปด้วยธาตุ 4 คือ ธาตุน้ำ
ธาตุดิน ธาตุลม ธาตุไฟ มันทรงกายอยู่ได้ชั่วคราวแล้วมันก็สลายตัวไปในที่สุด
เมื่อการสลายตัวของมันปรากฏขึ้น ถ้ากิเลสของเรายังไม่หมดเพียงใด
มันก็ต้องไปเกิดแสวงหาความทุกข์อีก เมื่อตายใหม่กิเลสยังไม่หมด
มันก็ต้องไปเกิดใหม่ ให้มีความทุกข์เกิดขึ้นมาอีกหาที่สุดมิได้
จะเทียบกันได้กับพระรูปพระโฉมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เรายกขึ้นเป็น
กสิณ
ถ้าเราต้องการให้พระรูปพระโฉมปรากฏ ก็ปรากฏขึ้น เราต้องการให้หายไป
สลายตัวไป การสลายตัวไปไม่ใช่จะสลายไปหมด เราต้องการให้ภาพนี้ปรากฏ
ก็กลับมาปรากฏตามเดิม สลับกันไปสลับกันมาอย่างนี้ การที่ภาพหายไปถือว่า
เป็นสภาวะของอนัตตา เราบังคับไม่ได้ แล้วภาพที่ทรงอยู่ก็ถือว่า อัตตา ทรงอยู่
แต่เป็นอัตตาชั่วคราว ต่อไปก็เป็น อนัตตา คือ สลายตัว
นี่เราก็มานั่งพิจารณาร่างกายของเรา ที่พระพุทธเจ้ากล่าวว่า
ชาติปิทุกขา ความเกิดเป็นทุกข์
ชราปิทุกขา ความแก่เป็นทุกข์
มรณัมปิทุกขัง ความตายเป็นทุกข์
โสกปริเทวทุกขโทมนัส ความพลัดพรากจากของรักของชอบใจเป็นทุกข์ เป็นต้น
นี่เรียกว่าทุกอย่าง เราเกิดมามันเต็มไปด้วยความทุกข์ หาความสุขไม่ได้
ในเมื่อร่างกายของเราไม่มีความสุข ร่างกายของพระพุทธเจ้าเองท่านก็ไม่มีความสุข
เมื่อขันธ์ 5
มันเป็นปัจจัยนำมาซึ่งความทุกข์
ดูตัวอย่างพระรูปพระโฉมของพระพุทธเจ้าไม่สามารถจะทรงตัวได้ฉันใด
ร่างกายของเราที่เต็มไปด้วยความทุกข์ มันก็ไม่สามารถจะทรงตัวไว้ได้ฉันนั้น
มีความเกิดขึ้นแล้ว มีความเสื่อมไป แล้วมีการสลายตัวไปในที่สุด
ในขณะที่ทรงร่างกายอยู่ก็เต็มไปด้วยความทุกข์
ร่างกายเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีเหงื่อ มีไคล มีอุจจาระ ปัสสาวะ น้ำเลือด
น้ำเหลือง น้ำหนอง เต็มไปทั้งร่างกาย ไม่มีอะไรเป็นของน่ารัก
ไม่มีอะไรเป็นของน่าชม มีแต่ของน่าเกลียด ฉะนั้น ถ้าตายแล้วคราวนี้
ถ้าเราต้องเกิดใหม่เราก็ต้องไปแบกทุกข์ใหม่
การที่เราจะไม่แบกทุกข์ต่อไป จะทำอย่างไร
องค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าสอนให้เราละสังโยชน์ 10 ประการ อาศัย สักกายทิฏฐิ ตัวเดิมเป็นตัวปฏิบัติ คือ เป็นตัวตัด
เอามาพิจารณาร่างกายว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย
ร่างกายไม่มีในเรา มันเกิดขึ้นแล้วมันต้องตายแน่ ถ้าการเกิด
เกิดแล้วตายมีอยู่ตราบใด เราก็ยังไม่พ้นทุกข์ตราบนั้น
ฉะนั้น ขันธ์ 5
ที่เต็มไปด้วยความสกปรก ขันธ์ 5
ที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอนนี้เราไม่ต้องการ สิ่งที่เราต้องการ นั้นก็คือ
พระนิพพาน อย่างเดียว
การที่เราจะต้องการพระนิพพานได้นั้น เราจะต้องปฏิบัติอย่างไรต่อไป
ในเมื่อเราเห็นว่า ขันธ์ 5 มันไม่ใช่เรา
ไม่ใช่ของเรา พระพุทธเจ้าทรงกล่าวว่า ชาติปิทุกขา เกิดเป็นทุกข์ เราเชื่อท่าน
ชราปิทุกขา ความแก่เป็นทุกข์ เราเชื่อท่าน มรณัมปิทุกขัง เมื่อความตายเข้ามาถึงเป็นทุกข์
เราเชื่อพระองค์พร้อมไปด้วยของจริง
เพราะความตายร่างกายต้องถูกบีบบังคับอย่างหนัก มีทุกขเวทนาอย่างหนัก
มันจึงจะตายได้ คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นความจริง
นี่เราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า
แล้วต่อไปเราก็ตั้งใจเกาะศีลให้บริสุทธิ์ ศีลถ้าเราเกาะได้แล้วก็ชื่อว่าเป็นการตัดอบายภูมิทั้ง
4 ประการ มี นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน เป็นต้น
ฆราวาสตั้งใจทรงศีล 5 ให้บริสุทธิ์
สำหรับสามเณรทรงศีล 10 ให้บริสุทธิ์
สำหรับพระทรงศีล 227 ให้บริสุทธิ์
แล้วก็นั่งพิจารณาร่างกาย มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันแก่ลงทุกวัน มันพังลงทุกวัน
ไม่ช้ามันก็สลายตัว ตัดความเมาในร่างกายเสีย อย่างนี้ก็ถือว่าเข้าถึงความดี
เป็นอันดับแรก การตัดสังโยชน์ทั้ง 3
ประการได้จัดว่าเป็นพระโสดาบัน นี่เป็นทุนแล้ว
ต่อไปก็ขยับจิตให้สูงขึ้นไปกว่านั้น เพราะมันยังต้องเกิดอยู่อีกนี่
พระโสดาบันน่ะ เราก็มาพิจารณาร่างกายว่า ร่างกายนี้เป็นชิ้น เป็นท่อน
มันไม่ได้เป็นแท่งทึบ แท่งอันเดียวกัน ข้างในเป็นโพรงเต็มไปด้วยอวัยวะต่าง ๆ น้อม
กายคตานุสสติกรรมฐาน เข้าไปหา อสุภกรรมฐาน
เห็นว่า อัตภาพร่างกายนี้เต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก มีอุจจาระ ปัสสาวะ
น้ำเลือด น้ำเหลือง น้ำหนอง อยู่ข้างใน เป็นต้น
ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นทั้งร่างกายของเรา มีสภาพเหมือนกับซากศพที่เคลื่อนที่ได้
หรือ เหมือนกับส้วมที่เคลื่อนที่ได้ มันเต็มไปด้วยความสกปรก
ไม่มีอะไรจะเป็นที่น่ารัก
เมื่อพิจารณาในด้านอสุภกรรมฐาน
แล้วก็จับกายคตานุสสติขึ้นมาพิจารณาต่อว่า ร่างกายของเราก็ดี
ร่างกายของบุคคลอื่นก็ดี ก็มีสภาพเหมือนกัน มันมีแต่ความสกปรกเหมือนกัน
เราจะไปนั่งยึดถือว่า ร่างกายนี้เป็นเรา เป็นของเราเพื่อประโยชน์อะไร
เพราะว่านอกจากสกปรกแล้ว ยังเต็มไปด้วยความทุกข์ ความแก่เข้ามาท่วมทับ
แล้วก็มีความตายไปในที่สุด
พิจารณาแบบนี้ ค่อย ๆ พิจารณาไป ปัญญามันจะเกิด เกิดนิพพิทาญาณ คือ
ความเบื่อหน่าย เห็นว่าขันธ์ 5 คือ
ร่างกายไม่เป็นแก่นสาร ไม่เป็นสาระ ไม่เป็นที่พึ่ง ปรารถนาสำหรับเรา
เมื่อนิพพิทาญาณ ความเบื่อหน่าย บังเกิดขึ้น ก็พิจารณาเรื่อยไป
ให้จิตเข้าถึงสังขารุเปกขาญาณ
ความหนาว ความร้อน ปรากฏขึ้น การกระทบกระทั่งจากวาจาที่ชอบใจบ้าง
ไม่ชอบใจบ้างปรากฏขึ้น อาการของจิตมีความรู้สึกว่า นี่มันเป็นของธรรมดา
ไม่มีอะไรทุกข์
ความป่วยไข้ไม่สบายบังเกิดขึ้น ก็ถือว่านี่มันเป็นหน้าที่
มันเป็นภาระของขันธ์ 5 คือ
ร่างกายมันต้องป่วย
ความทรุดโทรมเกิดขึ้น ก็ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดา
เมื่อมันมีความเกิดขึ้นแล้ว ก็มีความแก่ไปในที่สุด
อาการกระทบกระทั่งกับคำนินทาว่าร้ายต่าง ๆ ก็คิดว่า
คนเราที่เกิดมาในโลกนี้ มันไม่มีอะไรจีรังยั่งยืน หาความทรงตัวอะไรไม่ได้
แม้แต่วาจาเป็นเครื่องกล่าวกระทบกระทั่งนี้ จัดว่าเป็นโลกธรรม
เป็นธรรมดาของคนเกิดมาในโลก ทำจิตให้เห็นว่า ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นเรื่องของธรรมดา
เมื่อถูกด่าใจก็สบาย อาการป่วยไข้ไม่สบายเกิดขึ้นก็สบาย
ความกระทบกระทั่งอารมณ์เป็นที่ไม่ชอบใจเกิดขึ้นใจก็สบาย
ใครเขาชมก็ไม่หวั่นไหวไปตามคำชม ตัดอารมณ์แห่งความโกรธเสียได้ ตัดอารมณ์ความทุกข์
คือ ความเกาะขันธ์ 5 เสียได้
อย่างนี้ชื่อว่าเป็นพระอนาคามี
เพราะการพิจารณาร่างกายในด้านอสุภกรรมฐาน
เป็นการตัดความกำหนัดยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส
จนกระทั่งความรู้สึกในเพศไม่มี การยอมรับนับถือกฎธรรมดาของโลก
ใครเขาด่าก็ถือว่าเป็นธรรมดา เขาว่าก็เป็นธรรมดา
เขาเสียดสีก็เป็นเรื่องธรรมดา ใจไม่มีความหวั่นไหว ใจไม่มีการสะทกสะท้าน คือ
ไม่มีความหนักใจ ไม่มีการเจ็บใจ ถือว่าธรรมดาของคนเกิดมาในโลกเป็นอย่างนี้
อย่างนี้ชื่อว่า ตัดโทสะลงไปเสียได้ มีอารมณ์ยอมรับนับถือกฎของธรรมดา
เมื่อเราตัดโทสะได้ ตัดกามราคะได้ ทั้ง 2 ประการ ท่านเรียกว่า พระอนาคามี
ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะเรายึดเอาพุทธานุสสติเป็นอารมณ์ เป็นที่ตั้ง
คือ กสิณ แล้วพิจารณาร่างกายของพระพุทธเจ้า ร่างกายของเรา ร่างกายของชาวบ้าน
เอามาเปรียบเทียบกันว่า ไม่มีการทรงตัว มีการเสื่อมไป มีการสลายไปในที่สุด
จะมานั่งรักความสวยสดงดงามอันเต็มไปด้วยความหลอกลวงเพื่อประโยชน์อะไร
จะทำจิตหวั่นไหวไปในโลกธรรม ก็ไม่มีประโยชน์ เพราะร่างกายมันทรงตัวไม่นาน
แล้วมันก็พัง
ในเมื่อเรายับยั้งอารมณ์จิตยอมรับนับถือกฎของธรรมดาได้ทุกอย่าง
ก็ชื่อว่าเป็นพระอนาคามี เกือบจะเป็นอรหันต์อยู่แล้ว อย่างนี้ตายแล้วไม่ต้องเกิด
ไม่ต้องกลับมาเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดา หรือ พรหม แล้วก็นิพพานบนนั้น
ต่อไปเราต้องการทำจิตใจให้ถึงความเป็นอรหันต์
ก็มาพิจารณาความดีของพระพุทะเจ้า พระพุทธเจ้าทรงศึกษาในสำนักของอาจารย์ทั้งสอง คือ
อาฬารดาบส อุทกดาบสรามบุตร เป็นต้น ได้ฌาน 4 คือ
รูปฌานและอรูปฌาน รูปฌานและอรูปฌานนี่เป็นปัจจัยให้เข้าถึงความดี คือ
มีจิตตั้งมั่น
แต่องค์สมเด็จพระทรงธรรม์บรมศาสดา
ก็เห็นว่ายังไม่ใช่ที่สุดของความทุกข์ ยังไม่จบกิจ ยังชื่อว่าไม่ถึงโมกขธรรม
ธรรมเป็นเครื่องพ้นแห่งความตาย ยัง ยังไม่ถึง
เราก็ถือจริยาของพระพุทธเจ้าเป็นสำคัญ
ว่าอารมณ์ของเราที่เข้าถึงอนาคามี นี่มันยังมีทุกข์ คือ
ยังมีอารมณ์สำคัญอยู่ เห็นว่า ป็นของดี อรูปฌานเป็นของดี
ยังมีมานะถือตัวถือตนพอสมควร ยังมีอุทธัจจะมีอารมณ์ฟุ้งซ่าน ยังมีอวิชชา ความโง่
บางอย่างยังติดตัวอยู่
องค์สมเด็จพระบรมครูกล่าวว่า ถ้าเราจะตัดความโง่ให้หมด
ก็ให้ใคร่ครวญหาความจริงว่า รูปฌานก็ดี อรูปฌานก็ดี
ทั้งสองประการนี่เป็นแต่เพียงบันไดก้าวเข้าไปสู่พระนิพพานเท่านั้น
ไม่ใช่อารมณ์ที่เข้าถึงพระนิพพาน
แต่ว่ารูปฌานและอรูปฌานทั้งสองประการนี่ เราต้องเกาะเข้าไว้
เพื่อความอยู่เป็นสุขหรือว่าจิตไม่ฟุ้งซ่าน แต่เรายังไม่เห็นว่าที่สุด คือ
รูปฌานและอรูปฌานนี่ยังไม่เป็นที่สุดของความทุกข์ เราต้องเดินทางต่อไป
จึงตัดอารมณ์ ไม่มัวเมาในรูปฌานและอรูปฌาน
แต่จะรักษาไว้เพื่อประโยชน์แก่จิตใจเท่านั้น
ทรงฌานไว้เป็นปกติ แล้วใช้ปัญญาพิจารณาขันธ์ 5 ว่า มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในขันธ์ 5 ขันธ์ 5 ไม่มีในเรา
ขันธ์ 5 เต็มไปด้วยความทุกข์ ขันธ์ 5
มีการสลายตัวไปในที่สุด ไม่มีอะไรเป็นประโยชน์
ในเมื่อขันธ์ 5
มันไม่ทรงตัวแบบนี้แล้ว มานะการถือตัวถือตน เราจะไปนั่งถือตัวว่า เราดีกว่าเขา
เราเสมอเขา เราเลวกว่าเขา เพื่อประโยชน์อะไร เพราะร่างกายของคนมีธาตุ 4 เหมือนกัน เต็มไปด้วยความสกปรกเหมือนกัน มีความเสื่อมเหมือนกัน
มีการสลายตัวไปในที่สุดเหมือนกัน
คนและสัตว์มีสภาวะเสมอกัน คือ มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น
มีความแก่ในท่ามกลาง และมีการสลายตัวไปในที่สุด
นี่ย่อมไม่ยังประโยชน์ให้สำเร็จในการที่จะมานั่งเมาตัวหรือถือตัว
วางอารมณ์แห่งการถือตัวถือตนเสีย
มีเมตตาบารมีเป็นที่ตั้ง เห็นคนและสัตว์ทั้งหมด ถือ
ว่าทุกคนมีความทุกข์ ทุกคนจะต้องมีความตายไปในที่สุด แล้วเราจะมานั่งถือตัวถือตน
เสมอกัน เลวกว่ากัน ดีกว่ากัน เพื่อประโยชน์อะไร
เพราะต่างคนต่างก็ไม่มีร่างกายเป็นเรา เป็นของเราจริง เรือนร่าง
ร่างกายเป็นแต่เพียงบ้านชั่วคราวเท่านั้น ถ้าทำอารมณ์ได้อย่างนี้
เราก็จะตัดมานะคือ การถือตัวถือตนเสียได้
ต่อไปก็เหลือ อุทธัจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน พระอนาคามียังมีความฟุ้งซ่านลงไปหาอกุศล
เพราะนับตั้งแต่เป็นพระโสดาบันเป็นต้นมา
อารมณ์ที่เป็นอกุศลย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้เข้าถึงความเป็นพระอริยเจ้า
จะมีอย่างเดียวก็คือ อารมณ์จิตเป็นกุศลเท่านั้น
อย่างพระอนาคามีที่เรียกว่ายังมีอารมณ์จิตฟุ้งซ่านก็หมายถึงว่า
ยังพอใจในการบำเพ็ญทาน เห็นว่าทานเป็นของดี พอใจในการรักษาศีล
พอใจในการสงเคราะห์ในด้านสังคหวัตถุ
ในบางครั้งบางคราวจิตใจก็แวะซ้ายแวะขวา ยังไม่ตัดหน้าตรงไปเลยทีเดียว
ยังเห็นว่า อัตภาพร่างกายนี้บางครั้งนี้มันยังเป็นประโยชน์อยู่ เรียกว่า
บางครั้งยังเห็นว่าร่างกายเป็นของดีอยู่ ในการบางคราวยังเห็นว่าทรัพย์สิน คือ
วัตถุที่เราปกครองที่เราหามาได้ มันเป็นของดีอยู่
แต่ถึงกระนั้นก็ดี จิตใจของท่านก็ไม่ลืมนึกว่าท่านจะต้องตาย
จะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ความหวั่นไหวไม่มีก็จริงแหล่
แต่ทว่าจิตก็ยังมีอารมณ์เกาะอยู่บ้างตามสมควร นี่เรียกว่า อารมณ์ฟุ้งซ่านของพระอนาคามีนี้
ก็ไปตัดที่สักกายทิฏฐิ พิจารณาร่างกายว่า ในเมื่อร่างกายของเรามันจะพังแล้ว
อะไรในโลกนี้มันจะเป็นของเราอีก มันก็หาไม่ได้ ถ้าตายแล้วมันก็แบกเอาไปไม่ได้
ถ้ามันเป็นเราจริง เป็นของเราจริง เราก็ต้องแบกมันไปได้
นี่ดูตัวอย่างสรีระขององค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดา
เมื่อทรงปรินิพพานแล้ว ขณะที่ทรงชีวิตอยู่ องค์สมเด็จพระประทีปแก้วมีทรัพย์สินมาก
ชาวบ้านเขานำมาถวายราคานับไม่ได้
เมื่อเวลาที่องค์สมเด็จพระจอมไตรทรงปรินิพพานแล้วแม้แต่จีวรชิ้นหนึ่งก็นำไปไม่ได้
ปล่อยให้ร่างกายทับถมพื้นปฐพี ความนี้มีอุปมาฉันใด เราเองก็ฉันนั้น
เราจะไปนั่งฟุ้งซ่าน ยึดโน่นยึดนี่ เพื่อประโยชน์อะไร ใจมันก็จะปลดออกเสียได้
เมื่อเจริญเข้ามาถึงตอนนี้แล้ว องค์สมเด็จพระจอมไตรจึงกล่าวว่า เหลือ
อวิชชาอีกหนึ่ง ตัวอวิชชานี่ ได้แก่ ฉันทะกับราคะ
ฉันทะเห็นว่ามนุษยโลกดี เทวโลกดี พรหมโลกดี
ราคะ เห็นว่ามนุษยโลกสวยงาม เทวโลกสวย พรหมโลกสวย
เราก็มานั่งตัด ฉันทะกับราคะ ทั้งสองประการเสียพิจารณาหาความจริงว่า
ในเมื่อร่างกายของเรามันจะพังแล้ว ความสวยของความเป็นมนุษย์ เมืองมนุษย์ก็ดี
เทวดาก็ดี หรือพรหมก็ดี มันจะมีประโยชน์อะไร ในฐานะที่เราเองก็ไม่สามารถทรงตัวอยู่ได้
มันไม่เกิดประโยชน์อะไร
ฉะนั้น ขึ้นชื่อว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เทวดาก็ดี พรหมก็ดี
ย่อมไม่เป็นที่ปรารถนาขิงเรา เราต้องการอย่างเดียวคือ พระนิพพาน
จับจิตจับจุดเฉพาะอารมณ์พระนิพพานเพียงเท่านั้น
แล้วก็ถอยหลังเข้ามาดูอารมณ์ความจริงขิงเราว่า เวลานี้เรามีความโลภ
คือ เมาในลาภสักการะหรือเปล่า ยังถือว่ามีอะไรเป็นเราเป็นของเรามีบ้างไหม
ถ้ายังมีก็ยังถือว่าใช้ไม่ได้ ยังไม่ใช่พระอรหันต์
ถ้าเห็นร่างกายอัตภาพนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ขิงเราแล้ว
ทรัพย์สินที่มีอยู่นี่มันก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ขิงเรา มันทรงตัวอยู่ไม่ได้
ตายแล้วนำไปไม่ได้ บางทีเรายังไม่ทันจะตาย
ยังไม่ตายเราก็ต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ คือ
ของที่เราต้องการมันก็สลายตัวไปหมด มันไม่ปรากฏว่าจะยืนยงคงทนตลอดกาลตลอดสมัย
นี่เราจึงเห็นว่าความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตายเป็นของไม่ดี การเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี
เทวดาก็ดี พรหมก็ดี เราไม่มีความต้องการ โลกทั้งสามนี้เป็นอนัตตาเหมือนกันหมด
มีการเกิดขึ้นในเบื้องต้น แล้วมีการสลายตัวไปในที่สุด
ในที่สุดเราก็มีอารมณ์จับพระนิพพานเป็นอารมณ์
มีความต้องการอย่างยิ่งโดยเฉพาะ คือ พระนิพพาน
อารมณ์แห่งความรักในเพศไม่มี
การเกาะสิ่งนั้นสิ่งนี้ว่าเป็นเราเป็นของเราไม่มี
อย่างนี้ชื่อว่า จิตของบรรดาท่านพุทธบริษัทเข้าถึงความเป็นพระอรหัตผล
เป็นพระอริยบุคคลสูงสุดในพระพุทธศาสนา ชื่อว่าจบกันแค่นี้
นี่การเจริญพระกรรมฐานกองใดกองหนึ่ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งพุทธานุสสติกรรมฐาน เราก็ทำได้ทุกอย่าง คือ
ทำได้ตั้งแต่ขั้นอุปจารสมาธิ คือ พิจารณาแบบต้น คือ ทำแบบจับรูปเราก็ทรงได้ถึงฌาน 4 แล้วทิ้งรูปเสียพิจารณาอรูป ทรงฌาน 4
ได้อีกก็เป็นสมาบัติ 8
แล้วก็จับพระรูปพระโฉมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า
มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น มีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงในท่ามกลาง
มีการแก่เฒ่าไปในที่สุด แล้วก็สลายตัวไปในขั้นสุดท้าย
ถือว่าไม่เป็นสาระไม่เป็นแก่นสาร ไม่มีสภาพจีรังยั่งยืนเป็นประการใด มาเทียบกับกาย
ของเราแบบนี้เป็นวิปัสสนาญาณ
นี่แหละ บรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน กรรมฐานทุกกองเราทำได้ถึงขั้นอุปจารสมาธิ
ทางด้านรูปฌานและอรูปฌานและวิปัสสนาญาณทำได้หมด
ตัวอย่างที่องค์สมเด็จพระบรมสุคต
สอนโลหิตกสิณแก่พระลูกชายนายช่างทองอย่างเดียวสามารถให้ทำฌานได้
แล้วองค์สมเด็จพระประทีปแก้วก็ทำโลหิตกสิณนั่นแหละให้เป็นวิปัสสนาญาณ
ในที่สุดเธอก็ได้เป็นพระอรหัตผล
เอาละ บรรดาท่านพุทธบริษัททุกคน เวลาแห่งการจะพูดมันก็เลยมานานแล้ว
ต่อแต่นี้ไป ขอบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายตั้งกายให้ตรง ดำรงจิตให้มั่น
กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนาและพิจารณาตามอัธยาศัย
จนกว่าจะได้ยินสัญญาณบอกหมดเวลา สวัสดี
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงอนุสติไว้เพื่อเป็นแนวปฏิบัติอันจะเป็นประโยชน์
แก่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพานแก่บุคคลทั้งหลาย ดังพุทธพจน์ที่ว่า
“ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งที่บุคคลเจริญแล้ว
กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ
เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
ธรรมอย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสติ… ธัมมานุสติ… สังฆานุสติ… สีลานุสติ...จาคานุสติ… เทวตานุสติ… อานาปานสติ… มรณสติ… กายคตาสติ… อุปสมานุสติ
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพานฯ”
ในอนุสติ 10 ประการนั้น การเจริญอนุสติ 6 ประการ คือ การระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ศีล การบริจาค และเทวดา ท่านเรียกชื่อว่า อนุสติฏฐาน หรือ ที่ตั้งของอนุสติ
2.อนุสติทั้ง 6 ประการนี้ จัดเป็นอารมณ์กัมมัฏฐานด้วยเหตุผลหลายประการ3 คือ
1.เป็นแนวทางที่ใช้สำหรับทำจิตให้มีความยินดีในเมื่อจิตตกเป็นเหยื่อของความทุกข์ และเพื่อที่จะก่อให้เกิดวิปัสสนาเมื่อปฏิบัติก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป
2.เป็นเครื่องป้องกันอันตรายต่างๆ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อนักปฏิบัติธรรมอยู่ในที่เปลี่ยว เช่น ในป่า หรือป่าช้า เป็นต้น โดยอนุสติ 3 อย่างแรก ท่านแนะนำให้เจริญเพื่อคุ้มครองตนเองในเวลาที่มีความกลัวหรือสิ่งร้ายใดๆ เกิดขึ้น
3.เป็นกัมมัฏฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่มีศรัทธาแรงกล้า และส่งเสริมศรัทธาให้มีขึ้น สำหรับผู้ที่ไม่มีศรัทธามาก่อน
อนุสติทั้ง 6 ประการนี้ท่านกล่าวไว้ในมหานามสูตรว่า เป็นข้อปฏิบัติของพระอริยสาวกที่บรรลุมรรคผลแล้ว ข้อปฏิบัตินี้จะทำให้เป็นผู้รู้อรรถ รู้ธรรม จิตตั้งมั่น และอยู่อย่างเป็นสุข ดังที่ตรัสไว้ว่า
“ ดูก่อนมหานามะ อริยสาวกผู้ได้บรรลุผลทราบชัดพระศาสนาแล้ว ย่อมอยู่ด้วยวิหารธรรมนี้เป็นส่วนมาก คือ อริยสาวกในพระศาสนานี้ ย่อมระลึกถึงพระตถาคตเนืองๆ ว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่น ยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม ดูก่อน มหานามะ สมัยใด อริยสาวกย่อมระลึกถึงพระตถาคตเนืองๆ… สมัยนั้น จิตของอริยสาวกนั้น ย่อมไม่ถูกราคะกลุ้มรุม ไม่ถูกโทสะกลุ้มรุม ไม่ถูกโมหะกลุ้มรุม ย่อมเป็นจิตดำเนินไปตรงทีเดียว ก็อริยสาวกผู้มีจิตดำเนินไปตรงเพราะปรารภพระตถาคต ย่อมได้ความรู้อรรถ ย่อมได้ความรู้ธรรม ย่อมได้ความปราโมทย์อันประกอบด้วยธรรม เมื่อปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจประกอบด้วยปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุขจิตย่อมตั้งมั่น”
4.ในอนุสติฏฐานสูตร ได้กล่าวถึงคุณของการเจริญอนุสติ 6 ซึ่งมีเนื้อความคล้ายกับที่ปรากฏในกัจจานสูตร มีเนื้อความดังนี้
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด อริยสาวกย่อมระลึกถึงพระตถาคต สมัยนั้น จิตของพระอริยสาวกนั้น เป็นจิตไม่ถูกราคะกลุ้มรุม ไม่ถูกโทสะกลุ้มรุม ไม่ถูกโมหะกลุ้มรุม ย่อมเป็นจิตดำเนินไปตรงทีเดียว เป็นจิตออกไป พ้นไป หลุดไปจากความอยาก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คำว่าความอยากนี้ เป็นชื่อของเบญจกามคุณ สัตว์บางพวกในโลกนี้ ทำพุทธานุสติแม้นี้ให้เป็นอารมณ์ ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยประการฉะนี้”
5.จากพุทธพจน์ดังกล่าวทำให้เห็นว่า อนุสติทั้ง 6 ประการนี้เป็นข้อปฏิบัติของพระอริย-สาวกเพื่อชำระจิตให้บริสุทธิ์ และช่วยให้ได้บรรลุคุณธรรมเบื้องสูงยิ่งๆ ขึ้นไป อย่างไรก็ดี อนุสติเหล่านี้ก็ย่อมเป็นธรรมจำเป็นสำหรับผู้เริ่มปฏิบัติอีกด้วย เพราะอนุสติเหล่านี้จะทำให้จิตบริสุทธิ์และส่งเสริมคุณธรรมให้เกิดขึ้น พัฒนาคุณสมบัติอื่นๆ ในเบื้องต้น และนำไปสู่ความบริสุทธิ์แห่งจิตและความรู้แจ้งในขณะที่ก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป
ธรรมอย่างหนึ่งคืออะไร คือพุทธานุสติ… ธัมมานุสติ… สังฆานุสติ… สีลานุสติ...จาคานุสติ… เทวตานุสติ… อานาปานสติ… มรณสติ… กายคตาสติ… อุปสมานุสติ
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอย่างหนึ่งนี้แล อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่ายโดยส่วนเดียว เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพานฯ”
ในอนุสติ 10 ประการนั้น การเจริญอนุสติ 6 ประการ คือ การระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ศีล การบริจาค และเทวดา ท่านเรียกชื่อว่า อนุสติฏฐาน หรือ ที่ตั้งของอนุสติ
2.อนุสติทั้ง 6 ประการนี้ จัดเป็นอารมณ์กัมมัฏฐานด้วยเหตุผลหลายประการ3 คือ
1.เป็นแนวทางที่ใช้สำหรับทำจิตให้มีความยินดีในเมื่อจิตตกเป็นเหยื่อของความทุกข์ และเพื่อที่จะก่อให้เกิดวิปัสสนาเมื่อปฏิบัติก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป
2.เป็นเครื่องป้องกันอันตรายต่างๆ ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อนักปฏิบัติธรรมอยู่ในที่เปลี่ยว เช่น ในป่า หรือป่าช้า เป็นต้น โดยอนุสติ 3 อย่างแรก ท่านแนะนำให้เจริญเพื่อคุ้มครองตนเองในเวลาที่มีความกลัวหรือสิ่งร้ายใดๆ เกิดขึ้น
3.เป็นกัมมัฏฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่มีศรัทธาแรงกล้า และส่งเสริมศรัทธาให้มีขึ้น สำหรับผู้ที่ไม่มีศรัทธามาก่อน
อนุสติทั้ง 6 ประการนี้ท่านกล่าวไว้ในมหานามสูตรว่า เป็นข้อปฏิบัติของพระอริยสาวกที่บรรลุมรรคผลแล้ว ข้อปฏิบัตินี้จะทำให้เป็นผู้รู้อรรถ รู้ธรรม จิตตั้งมั่น และอยู่อย่างเป็นสุข ดังที่ตรัสไว้ว่า
“ ดูก่อนมหานามะ อริยสาวกผู้ได้บรรลุผลทราบชัดพระศาสนาแล้ว ย่อมอยู่ด้วยวิหารธรรมนี้เป็นส่วนมาก คือ อริยสาวกในพระศาสนานี้ ย่อมระลึกถึงพระตถาคตเนืองๆ ว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่น ยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรม ดูก่อน มหานามะ สมัยใด อริยสาวกย่อมระลึกถึงพระตถาคตเนืองๆ… สมัยนั้น จิตของอริยสาวกนั้น ย่อมไม่ถูกราคะกลุ้มรุม ไม่ถูกโทสะกลุ้มรุม ไม่ถูกโมหะกลุ้มรุม ย่อมเป็นจิตดำเนินไปตรงทีเดียว ก็อริยสาวกผู้มีจิตดำเนินไปตรงเพราะปรารภพระตถาคต ย่อมได้ความรู้อรรถ ย่อมได้ความรู้ธรรม ย่อมได้ความปราโมทย์อันประกอบด้วยธรรม เมื่อปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจประกอบด้วยปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุขจิตย่อมตั้งมั่น”
4.ในอนุสติฏฐานสูตร ได้กล่าวถึงคุณของการเจริญอนุสติ 6 ซึ่งมีเนื้อความคล้ายกับที่ปรากฏในกัจจานสูตร มีเนื้อความดังนี้
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด อริยสาวกย่อมระลึกถึงพระตถาคต สมัยนั้น จิตของพระอริยสาวกนั้น เป็นจิตไม่ถูกราคะกลุ้มรุม ไม่ถูกโทสะกลุ้มรุม ไม่ถูกโมหะกลุ้มรุม ย่อมเป็นจิตดำเนินไปตรงทีเดียว เป็นจิตออกไป พ้นไป หลุดไปจากความอยาก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คำว่าความอยากนี้ เป็นชื่อของเบญจกามคุณ สัตว์บางพวกในโลกนี้ ทำพุทธานุสติแม้นี้ให้เป็นอารมณ์ ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยประการฉะนี้”
5.จากพุทธพจน์ดังกล่าวทำให้เห็นว่า อนุสติทั้ง 6 ประการนี้เป็นข้อปฏิบัติของพระอริย-สาวกเพื่อชำระจิตให้บริสุทธิ์ และช่วยให้ได้บรรลุคุณธรรมเบื้องสูงยิ่งๆ ขึ้นไป อย่างไรก็ดี อนุสติเหล่านี้ก็ย่อมเป็นธรรมจำเป็นสำหรับผู้เริ่มปฏิบัติอีกด้วย เพราะอนุสติเหล่านี้จะทำให้จิตบริสุทธิ์และส่งเสริมคุณธรรมให้เกิดขึ้น พัฒนาคุณสมบัติอื่นๆ ในเบื้องต้น และนำไปสู่ความบริสุทธิ์แห่งจิตและความรู้แจ้งในขณะที่ก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป
2.2 ความหมายของอนุสติ
อนุสติ มาจากภาษาบาลี 2 คำ คือ อนุ กับ สติ คำว่า อนุ6) เป็นคำอุปสรรค แปลว่า น้อย, ภายหลัง, ตาม เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำๆ, ในที่นี้จะนำมาใช้ในความหมาย ตาม, เนืองๆ, และบ่อยๆ ส่วนคำว่า สติ7) แปลว่า ความระลึก, ความระลึกได้,ธรรมชาติเครื่องระลึก, ธรรมชาติเป็นเครื่องระลึก ดังนั้น อนุสติ จึงแปลว่า ความตามระลึก, ความระลึกเนืองๆ, ความระลึกบ่อยๆ
อนุสติ ในความหมายของการเจริญสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การตามระลึกถึงอยู่เนืองๆ เสมอๆ ในธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตามระลึกถึงสิ่งใดๆ ที่ก่อให้เกิดความตั้งมั่นซึ่งสติ โดยสิ่งนั้นๆ เป็นกุศลธรรมหรือนำไปสู่กุศลธรรม แล้วก่อให้เกิดสติฝ่ายดี ที่ เรียกว่า สัมมาสติ เช่น การตามระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ เป็นต้น โดย อาการตามระลึกถึงนี้จะทำให้จิตของผู้ปฏิบัติมีสติ และเมื่อกระทำให้มากจิตจะเป็นสมาธิ กระทั่งสามารถพัฒนาจิตให้บริสุทธิ์หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ เข้าถึงพระนิพพานได้ในบทที่จะกล่าวถึงอนุสติ 6 ประเภทแรก ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการฝึกฝนพัฒนาจิตให้ มีสติและสมาธิ อีกทั้งก่อให้เกิดคุณธรรมแก่ผู้ปฏิบัติ คือปลูกฝังเพิ่มพูนศรัทธา ปัญญาให้แก่กล้ายิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถยกจิตของผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปตามอำนาจกิเลส เป็นทางมาแห่งบุญกุศล จิตใจผ่องใสปราโมทย์ บังเกิดหิริโอตตัปปะ และช่วยคุ้มครองป้องกันภัยให้แก่ผู้ปฏิบัติเป็นต้น
อนุสติ มาจากภาษาบาลี 2 คำ คือ อนุ กับ สติ คำว่า อนุ6) เป็นคำอุปสรรค แปลว่า น้อย, ภายหลัง, ตาม เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำๆ, ในที่นี้จะนำมาใช้ในความหมาย ตาม, เนืองๆ, และบ่อยๆ ส่วนคำว่า สติ7) แปลว่า ความระลึก, ความระลึกได้,ธรรมชาติเครื่องระลึก, ธรรมชาติเป็นเครื่องระลึก ดังนั้น อนุสติ จึงแปลว่า ความตามระลึก, ความระลึกเนืองๆ, ความระลึกบ่อยๆ
อนุสติ ในความหมายของการเจริญสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การตามระลึกถึงอยู่เนืองๆ เสมอๆ ในธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ หรือการตามระลึกถึงสิ่งใดๆ ที่ก่อให้เกิดความตั้งมั่นซึ่งสติ โดยสิ่งนั้นๆ เป็นกุศลธรรมหรือนำไปสู่กุศลธรรม แล้วก่อให้เกิดสติฝ่ายดี ที่ เรียกว่า สัมมาสติ เช่น การตามระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ เป็นต้น โดย อาการตามระลึกถึงนี้จะทำให้จิตของผู้ปฏิบัติมีสติ และเมื่อกระทำให้มากจิตจะเป็นสมาธิ กระทั่งสามารถพัฒนาจิตให้บริสุทธิ์หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ เข้าถึงพระนิพพานได้ในบทที่จะกล่าวถึงอนุสติ 6 ประเภทแรก ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการฝึกฝนพัฒนาจิตให้ มีสติและสมาธิ อีกทั้งก่อให้เกิดคุณธรรมแก่ผู้ปฏิบัติ คือปลูกฝังเพิ่มพูนศรัทธา ปัญญาให้แก่กล้ายิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถยกจิตของผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปตามอำนาจกิเลส เป็นทางมาแห่งบุญกุศล จิตใจผ่องใสปราโมทย์ บังเกิดหิริโอตตัปปะ และช่วยคุ้มครองป้องกันภัยให้แก่ผู้ปฏิบัติเป็นต้น
2.3 วิธีเจริญพุทธานุสติ
พุทธานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
องค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ ทรงพระคุณอันประเสริฐและยิ่งใหญ่ไม่มีที่สิ้นสุด แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะตรัสสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยกันเอง ตลอดระยะเวลายาวนานเป็นกัปก็สรรเสริญได้ไม่หมดสิ้น เหล่าบัณฑิตผู้มีปัญญาครั้งจะสรรเสริญพระพุทธคุณด้วยตนแล้ว ก็อุปมาพระพุทธคุณที่ตนอาจกล่าวสรรเสริญได้นั้น เพียงดังอากาศในปีกนกขณะกระพือปีกซึ่งมีน้อยนิด เทียบมิได้กับพระพุทธคุณที่เปรียบดังอากาศสุดคณนาในสากลโลก สมดังพระพุทธคุณที่ทรงประกาศให้เป็นที่ประจักษ์แก่พระทัยของพระเจ้าอชาตศัตรูว่า “ มหาบพิตร พระตถาคตเสด็จอุบัติในโลกนี้เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม พระตถาคตพระองค์นั้น ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก พรหมโลก มารโลก ให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งานในท่ามกลาง งานในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ บริบูรณ์สิ้นเชิง
ในขั้นต้นของการเจริญพุทธานุสติ ผู้ปฏิบัติพึงทำจิตของตนให้เลื่อมใสในพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ซึ่งทรงพระคุณไม่มีประมาณ ไม่หวั่นไหวในพระพุทธคุณ เข้าอยู่ในที่สงบสงัด นั่งขัดสมาธิตั้งกายให้ตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า แล้วตามระลึกถึงพระพุทธคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ โดยพิจารณาตามบทสรรเสริญพระพุทธคุณดังภาษาบาลีที่ว่า
“ อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทโธ วิชาจรณสมฺปนฺโน สุคโตโลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมมฺสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ”
8.“ พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์… ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ…ทรงบรรลุวิชชาและจรณะ…เสด็จไปดี…ทรงทราบโลก…ทรงเป็นสารภีฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า…ทรงเป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลาย…ทรงเป็นพุทธะ…ทรงเป็นพระผู้มีพระภาค…“
9.พระพุทธคุณขององค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้ง 9 ประการ ข้างต้นนี้ แต่ละบทเป็นเนมิตกนาม คือ นามที่เกิดขึ้นตามลักษณะและคุณสมบัติ ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับเมื่อพระพุทธองค์ทรงบรรลุพระโพธิญาณ อรหันต์ เป็นนามเหตุ พระคุณนามที่เหลือนอกนั้น เป็นนามผล พระพุทธคุณแต่ละบททรงไว้ซึ่งอานุภาพอย่างไม่มีประมาณ เป็นประโยชน์แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีบุญในกาลก่อนเพียงได้สดับแต่ละบทแห่งพระพุทธคุณ แล้วยังจิตของตนแต่ละบท อาจแสดงได้พอสังเขป เพื่อพิจารณาตามดังต่อไปนี้
พุทธานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
องค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ ทรงพระคุณอันประเสริฐและยิ่งใหญ่ไม่มีที่สิ้นสุด แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะตรัสสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยกันเอง ตลอดระยะเวลายาวนานเป็นกัปก็สรรเสริญได้ไม่หมดสิ้น เหล่าบัณฑิตผู้มีปัญญาครั้งจะสรรเสริญพระพุทธคุณด้วยตนแล้ว ก็อุปมาพระพุทธคุณที่ตนอาจกล่าวสรรเสริญได้นั้น เพียงดังอากาศในปีกนกขณะกระพือปีกซึ่งมีน้อยนิด เทียบมิได้กับพระพุทธคุณที่เปรียบดังอากาศสุดคณนาในสากลโลก สมดังพระพุทธคุณที่ทรงประกาศให้เป็นที่ประจักษ์แก่พระทัยของพระเจ้าอชาตศัตรูว่า “ มหาบพิตร พระตถาคตเสด็จอุบัติในโลกนี้เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม พระตถาคตพระองค์นั้น ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก พรหมโลก มารโลก ให้แจ้งชัดด้วยปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งานในท่ามกลาง งานในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ บริบูรณ์สิ้นเชิง
ในขั้นต้นของการเจริญพุทธานุสติ ผู้ปฏิบัติพึงทำจิตของตนให้เลื่อมใสในพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ซึ่งทรงพระคุณไม่มีประมาณ ไม่หวั่นไหวในพระพุทธคุณ เข้าอยู่ในที่สงบสงัด นั่งขัดสมาธิตั้งกายให้ตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า แล้วตามระลึกถึงพระพุทธคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ โดยพิจารณาตามบทสรรเสริญพระพุทธคุณดังภาษาบาลีที่ว่า
“ อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทโธ วิชาจรณสมฺปนฺโน สุคโตโลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมมฺสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ”
8.“ พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์… ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ…ทรงบรรลุวิชชาและจรณะ…เสด็จไปดี…ทรงทราบโลก…ทรงเป็นสารภีฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า…ทรงเป็นศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลาย…ทรงเป็นพุทธะ…ทรงเป็นพระผู้มีพระภาค…“
9.พระพุทธคุณขององค์สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้ง 9 ประการ ข้างต้นนี้ แต่ละบทเป็นเนมิตกนาม คือ นามที่เกิดขึ้นตามลักษณะและคุณสมบัติ ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับเมื่อพระพุทธองค์ทรงบรรลุพระโพธิญาณ อรหันต์ เป็นนามเหตุ พระคุณนามที่เหลือนอกนั้น เป็นนามผล พระพุทธคุณแต่ละบททรงไว้ซึ่งอานุภาพอย่างไม่มีประมาณ เป็นประโยชน์แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีบุญในกาลก่อนเพียงได้สดับแต่ละบทแห่งพระพุทธคุณ แล้วยังจิตของตนแต่ละบท อาจแสดงได้พอสังเขป เพื่อพิจารณาตามดังต่อไปนี้
2.3.1 อรหัง ทรงเป็นพระอรหันต์
ทรงพระนามว่า”อรหัง” คือ ทรงเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ไกลจากกิเลสอย่างเด็ดขาด
เพราะทรงกำจัดกิเลสได้หมดอย่างสิ้นเชิงไม่เหลือเศษ
ความหมายของคำว่า อรหัง สามารถแปลได้ 7 นัยยะด้วยกันคือ
1.เป็นผู้ไกลจากกิเลส
2.เป็นผู้กำจัดข้าศึก คือ กิเลสสิ้นแล้ว
3.เป็นผู้หักกรรมแห่งสังสารจักร อันได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม
4.เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอน
5.เป็นผู้ที่ควรรับความเคารพ
6.เป็นผู้ควรแก่ทักษิณา และการบูชาพิเศษ
7.เป็นผู้ไม่มีข้อลับ คือ ไม่มีข้อเสียหายอันควรปกปิด
พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย) ได้แสดงความหมายของคำ อรหัง ไว้ 2 นัย คือ เป็นผู้ไกลและผู้ควร
10.อรหํ แปลสั้นๆ ว่าไกล ว่าควร เป็นสองนัยอยู่ ไกล หมายความว่า ไกลจากกิเลส หรือว่า พ้นจากกิเลส เสียแล้ว ไกล ตรงข้ามกับปุถุชนคนเรา ซึ่งยังอยู่ใกล้ชิดกิเลส พระองค์บริสุทธิ์ผุดผ่องดังแท่งทองชมพูนุทหรืออีกอย่างหนึ่งว่าใสเหมือนดวงแก้วอันหาค่ามิได้ สมคำที่ว่า”พุทธรัตนะ” ประกอบด้วย ตานิโน เป็นผู้คงที่ไม่หวั่นไหว หากจะมีของหอมมาชะโลมไล้พระวรกายซีกหนึ่ง และเอาของเหม็นมาชโลมซีกหนึ่ง พระหฤทัยของพระองค์ก็ไม่แปรผันยินดียินร้ายประการใด และเปรียบได้อีกสถานหนึ่งว่า อินฺทขีลูปโม พระทัยมั่นคงดังเสาเขื่อน ถึงจะมีพายุมาแต่จาตุรทิศก็ไม่คลอน เมื่อเช่นนี้จึงมีนัยที่แปลได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็น ผู้ควร คือเป็นผู้ที่เราสมควรจะเทิดจะบูชาไว้เหนือสิ่งทั้งหมด
11.ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค แสดงความหมายของคำว่า อรหํ ไว้ 5 นัย
1.เป็นผู้ไกลจากกิเลส
2.เป็นผู้ทรงกำจัดอริ(หมายถึง กิเลส) ทั้งหลายเสียได้
3.เป็นผู้ทรงทำลายซี่กำ(หมายถึง อภิสังขาร)ทั้งหลายเสียได้
4.เป็นผู้ควรทักษิณา
5.เป็นผู้ไม่มีที่ลับในอันที่จะทำบาป
ความหมายของคำว่า อรหัง สามารถแปลได้ 7 นัยยะด้วยกันคือ
1.เป็นผู้ไกลจากกิเลส
2.เป็นผู้กำจัดข้าศึก คือ กิเลสสิ้นแล้ว
3.เป็นผู้หักกรรมแห่งสังสารจักร อันได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม
4.เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอน
5.เป็นผู้ที่ควรรับความเคารพ
6.เป็นผู้ควรแก่ทักษิณา และการบูชาพิเศษ
7.เป็นผู้ไม่มีข้อลับ คือ ไม่มีข้อเสียหายอันควรปกปิด
พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย) ได้แสดงความหมายของคำ อรหัง ไว้ 2 นัย คือ เป็นผู้ไกลและผู้ควร
10.อรหํ แปลสั้นๆ ว่าไกล ว่าควร เป็นสองนัยอยู่ ไกล หมายความว่า ไกลจากกิเลส หรือว่า พ้นจากกิเลส เสียแล้ว ไกล ตรงข้ามกับปุถุชนคนเรา ซึ่งยังอยู่ใกล้ชิดกิเลส พระองค์บริสุทธิ์ผุดผ่องดังแท่งทองชมพูนุทหรืออีกอย่างหนึ่งว่าใสเหมือนดวงแก้วอันหาค่ามิได้ สมคำที่ว่า”พุทธรัตนะ” ประกอบด้วย ตานิโน เป็นผู้คงที่ไม่หวั่นไหว หากจะมีของหอมมาชะโลมไล้พระวรกายซีกหนึ่ง และเอาของเหม็นมาชโลมซีกหนึ่ง พระหฤทัยของพระองค์ก็ไม่แปรผันยินดียินร้ายประการใด และเปรียบได้อีกสถานหนึ่งว่า อินฺทขีลูปโม พระทัยมั่นคงดังเสาเขื่อน ถึงจะมีพายุมาแต่จาตุรทิศก็ไม่คลอน เมื่อเช่นนี้จึงมีนัยที่แปลได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็น ผู้ควร คือเป็นผู้ที่เราสมควรจะเทิดจะบูชาไว้เหนือสิ่งทั้งหมด
11.ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค แสดงความหมายของคำว่า อรหํ ไว้ 5 นัย
1.เป็นผู้ไกลจากกิเลส
2.เป็นผู้ทรงกำจัดอริ(หมายถึง กิเลส) ทั้งหลายเสียได้
3.เป็นผู้ทรงทำลายซี่กำ(หมายถึง อภิสังขาร)ทั้งหลายเสียได้
4.เป็นผู้ควรทักษิณา
5.เป็นผู้ไม่มีที่ลับในอันที่จะทำบาป
คำว่า “ อรหัง” อาจอธิบายสรุปความหมายเป็น 4 นัย คือ
นัยที่ 1 ทรงไกลจากข้าศึก “ ข้าศึก” หมายถึง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ไกลจากกิเลส เพราะทรงกำจัดกิเลสทั้งปวงด้วยมรรคได้หมดอย่างสิ้นเชื้อไม่เหลือเศษจึงทรงพ้นจากกิเลส ไม่ข้องแวะกับกิเลสใด และไม่ทรงประกอบด้วยสิ่งอันเป็นโทษทั้งหลาย (คือ วาสนา12) ) เพราะเหตุนี้จึงทรงปรากฎพระนาม “ พระอรหันต์”
นัยที่ 2 ทรงหักกำฉัตร “ กำฉัตร” หมายถึงกิเลสทั้งปวง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงหักกิเลสเหล่านั้นด้วยศาสตรา คือปัญญา เพราะเหตุนี้จึงทรงพระนามว่า “ พระอรหันต์” อนึ่ง คำว่า “ จักร” หมายถึง “ สังสาร” มีคำอธิบายแตกต่างกันเป็น 2 นัย คือ
“ สังสาร” ตามนัยที่ 1 อุปมาดัง “ จักร” ซึ่งตามธรรมดามีองค์ประกอบสำคัญ 3 อย่าง คือ ดุม กำ และกง ตามนัยที่ 1 นี้ อวิชชาและภวตัญหาเปรียบได้กับ “ ดุม” อภิสังขารเปรียบได้กับ “ กำ” ความแก่และความตายเปรียบได้กับ “ กง” ดุม กำ และกง ประกอบกันขึ้นเป็นจักรหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ ล้อ” ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของ “ รถ” อันเปรียบได้กับ “ ภพ 3” รถคันนี้ย่อมแล่นไปเรื่อยๆ โดยหาต้นชนปลายไม่ได้ นี่คือ ความหมายของ “ สังสาร” หรือ “ จักร” ตามนัยที่ 1
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จประทับยืนบนแผ่นดินด้วยพระบาท “ ศีล” ของพระพุทธองค์นั้นเปรียบได้กับ “ แผ่นดิน” ส่วน “ ความเพียร” เปรียบได้กับ “ พระบาท” ทรงเอาพระหัตถ์ ซึ่งเปรียบได้กับ “ ศรัทธา” จับขวานคือ “ พระญาณ” ฟันกำของจักรให้ขาดสะบั้นลงหมดสิ้น รถจึง “ หยุด” นิ่งสนิท เป็นอีนสิ้นภพสิ้นชาติ ชรา มรณะ นี่คือความหมายของ “ ทรงหักกำจักร” ตามนัยที่ 1
“ สังสาร” ตามนัยที่ 2 อุปมาดัง “ จักร” ที่ประกอบมาจาก “ ปฏิจจสมุปบาท” คือมี “ อวิชชา” เปรียบได้กับ “ ดุม” เพราะเป็นมูลเหตุ “ ชราและมรณะ” เปรียบได้กับ “ กง” เพราะเป็นที่สุด ส่วนธรรมอีก 10 ข้อที่เหลือในปฏิจจสมุปบาท เปรียบได้กับ “ กำ” นี้คือ “ สังสาร” ตามนัยที่ 2 เพราะเหตุที่ทรงหักกำจักรสิ้นแล้วจึงปรากฎนามว่า “ พระอรหันต์”
นัยที่ 3 ทรงควรแก่ปัจจัย พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบริสุทธิ์หมดจดด้วยประการทั้งปวง จึงทรงเป็นทักขิไณยบุคคลอันเลิศยิ่ง ย่อมควรแก่ปัจัยและการบูชาเป็นพิเศษ สำหรับ พรหม เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะเหตุนี้ จึงทรงปรากฎพระนามว่า “ พระอรหันต์”
นัยที่ 4 ทรงไม่ทำชั่วในที่ลับ โดยเหตุที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกำจัดกิเลส ตัณหาและอวิชชาทั้งปวง ด้วยมรรคและญาณโดยสิ้นเชิงแล้ว การทำกรรมชั่วทั้งหลายแม้ในที่ลับ ย่อมไม่มีแก่พระองค์ เพราะเหตุนี้ จึงทรงปรากฎพระนามว่า “ พระอรหันต์”
นัยที่ 1 ทรงไกลจากข้าศึก “ ข้าศึก” หมายถึง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ไกลจากกิเลส เพราะทรงกำจัดกิเลสทั้งปวงด้วยมรรคได้หมดอย่างสิ้นเชื้อไม่เหลือเศษจึงทรงพ้นจากกิเลส ไม่ข้องแวะกับกิเลสใด และไม่ทรงประกอบด้วยสิ่งอันเป็นโทษทั้งหลาย (คือ วาสนา12) ) เพราะเหตุนี้จึงทรงปรากฎพระนาม “ พระอรหันต์”
นัยที่ 2 ทรงหักกำฉัตร “ กำฉัตร” หมายถึงกิเลสทั้งปวง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงหักกิเลสเหล่านั้นด้วยศาสตรา คือปัญญา เพราะเหตุนี้จึงทรงพระนามว่า “ พระอรหันต์” อนึ่ง คำว่า “ จักร” หมายถึง “ สังสาร” มีคำอธิบายแตกต่างกันเป็น 2 นัย คือ
“ สังสาร” ตามนัยที่ 1 อุปมาดัง “ จักร” ซึ่งตามธรรมดามีองค์ประกอบสำคัญ 3 อย่าง คือ ดุม กำ และกง ตามนัยที่ 1 นี้ อวิชชาและภวตัญหาเปรียบได้กับ “ ดุม” อภิสังขารเปรียบได้กับ “ กำ” ความแก่และความตายเปรียบได้กับ “ กง” ดุม กำ และกง ประกอบกันขึ้นเป็นจักรหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ ล้อ” ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของ “ รถ” อันเปรียบได้กับ “ ภพ 3” รถคันนี้ย่อมแล่นไปเรื่อยๆ โดยหาต้นชนปลายไม่ได้ นี่คือ ความหมายของ “ สังสาร” หรือ “ จักร” ตามนัยที่ 1
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จประทับยืนบนแผ่นดินด้วยพระบาท “ ศีล” ของพระพุทธองค์นั้นเปรียบได้กับ “ แผ่นดิน” ส่วน “ ความเพียร” เปรียบได้กับ “ พระบาท” ทรงเอาพระหัตถ์ ซึ่งเปรียบได้กับ “ ศรัทธา” จับขวานคือ “ พระญาณ” ฟันกำของจักรให้ขาดสะบั้นลงหมดสิ้น รถจึง “ หยุด” นิ่งสนิท เป็นอีนสิ้นภพสิ้นชาติ ชรา มรณะ นี่คือความหมายของ “ ทรงหักกำจักร” ตามนัยที่ 1
“ สังสาร” ตามนัยที่ 2 อุปมาดัง “ จักร” ที่ประกอบมาจาก “ ปฏิจจสมุปบาท” คือมี “ อวิชชา” เปรียบได้กับ “ ดุม” เพราะเป็นมูลเหตุ “ ชราและมรณะ” เปรียบได้กับ “ กง” เพราะเป็นที่สุด ส่วนธรรมอีก 10 ข้อที่เหลือในปฏิจจสมุปบาท เปรียบได้กับ “ กำ” นี้คือ “ สังสาร” ตามนัยที่ 2 เพราะเหตุที่ทรงหักกำจักรสิ้นแล้วจึงปรากฎนามว่า “ พระอรหันต์”
นัยที่ 3 ทรงควรแก่ปัจจัย พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบริสุทธิ์หมดจดด้วยประการทั้งปวง จึงทรงเป็นทักขิไณยบุคคลอันเลิศยิ่ง ย่อมควรแก่ปัจัยและการบูชาเป็นพิเศษ สำหรับ พรหม เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เพราะเหตุนี้ จึงทรงปรากฎพระนามว่า “ พระอรหันต์”
นัยที่ 4 ทรงไม่ทำชั่วในที่ลับ โดยเหตุที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกำจัดกิเลส ตัณหาและอวิชชาทั้งปวง ด้วยมรรคและญาณโดยสิ้นเชิงแล้ว การทำกรรมชั่วทั้งหลายแม้ในที่ลับ ย่อมไม่มีแก่พระองค์ เพราะเหตุนี้ จึงทรงปรากฎพระนามว่า “ พระอรหันต์”
2.3.2 สัมมาสัมพุทโธ ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ
ทรงพระนามว่า “ สัมมาสัมพุทธเจ้า” เพราะทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ
คำว่า พุทโธ แปลว่า ผู้ตรัสรู้ คำว่า สัม ที่นำหน้า พุทโธ นั้นแปลว่าด้วยพระองค์เอง ไม่มีผู้อื่นสั่งสอน ส่วนคำว่า สัมมา แปลว่า โดยชอบ หรือ “ โดยถูกต้อง ดังนั้น สัมมาสัมพุทโธ จึงมีความหมายว่า ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์โดยชอบ หรือทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยถูกต้อง
คำว่า พุทโธ เมื่อพิจารณาความหมายตามพระบาลีในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ที่ว่า จกฺขุ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุปปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิฯ จะเห็นว่าคุณวิเศษทั้ง 5 อย่าง ดังบาลีที่ยกขึ้นกล่าวนี้ จะเป็นความหมายของคำว่า พุทฺโธ กล่าวคือ จกฺขุ ญาณํ ปณฺญา วิชฺชา อาโลโก ทั้ง 5 อย่างนี้ประมวลเข้าด้วยกันรวมเป็นคำแปลของคำว่า พุทฺโธ ถ้าจะแปลให้สั้นเข้า พุทโธ ก็ต้องแปลว่า ทั้งรู้ทั้งเห็น มิใช่รู้เฉยๆ โดยอาศัยคำว่า จกฺขุ ญาณํ
พระเดชพระคุณพระภาวนาวิริยคุณ(หลวงพ่อทัตตชีโว)ให้ความหมายว่า
“ พระคุณของพระสัมสัมพุทธเจ้า ประการที่ 2 สัมมาสัมพุทโธ คือ พระองค์ทรงทั้งรู้ทั้งเห็น แทงตลอดในเหตุและผลของสรรพสิ่งทั้งหลายตรงตามความเป็นจริง ด้วยพระธรรมกายของพระองค์เอง โดยมิได้มีผู้หนึ่งผู้ใดสั่งสอนเลย”
13.สาเหตุที่พระองค์ทรงสามารถตรัสรู้ด้วยพระองค์เองได้ ก็เพราะความเป็น”อรหันต์”ของพระองค์ดังกล่าวแล้วนั่นเอง เนื่องจากอำนาจสมาธิทำให้จิตของพระองค์สะอาดบริสุทธิ์ปราศจากอาสวะทั้งปวง ซึ่งนอกจากจะใสสว่างแล้วยังหยุดนิ่ง จึงมีสิ่งที่ผุดขึ้นในนิ่ง ทำให้รู้ พระองค์ก็ทรงรู้ไปตามนั้น ทำนองเดียวกับน้ำในโอ่งที่นอนนิ่งสนิท ใสบริสุทธิ์ แม้มีเข้มอยู่ก้นโอ่งก็สามารถมองเห็นได้ ข้อนี้ฉันใดก็ฉันนั้น ที่กล่าวว่าพระองค์ตรัสรู้โดยชอบหรือโดยถูกต้องนั้น หมายความว่า ตรัสรู้ทั้งเหตุ ตรัสรู้ทั้งผล กล่าวคือตรัสรู้เหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งสุข เหตุไม่ทุกข์และไม่สุข ซึ่งเหตุแห่งทุกข์ก็คือ อกุศลมูล ได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ หรือโลภ โกรธ หลง เหตุแห่งสุขก็ตรงกันข้ามกับเหตุแห่งทุกข์คือ กุศลมูล ได้แก่ อโลภะ อโทสะ อโมหะ หรือไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง เหตุแห่งไม่ทุกข์ไม่สุขหรือ อัพยากฤต ก็คือสภาพเป็นกลางๆ ไม่เป็นทั้งกุศลหรืออกุศล เป็นกิริยาประเภทสักแต่ว่าทำ เช่น ขณะกำหนดลมหายใจเข้า-ออก, การอ่านหนังสือออก, การกินข้าวอิ่ม จึงไม่เป็นเหตุแห่งสุขหรือทุกข์ สิ่งที่ลึกซึ้งกว่านี้ก็คือ ทรงตรัสรู้เหตุที่ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิดกันอยู่ในสังสารวัฏโดยมิรู้จบสิ้น หรือที่เรียกว่า “ สมุทัย” ก็คือ “ อวิชชา” “ อวิชชา” เป็นเหตุให้เกิดการเกิดการดับติดต่อกันเป็นลูกโซ่ ซึ่งเรียกว่า “ ปัจจยาการ” หรือ “ ปฏิจจสมุปบาท” ทรงตรัสรู้ว่าถ้าดับอวิชชาได้อย่างเดียว ทุกอย่าง “ หยุด” หมด ซึ่งเรียกว่า “ นิโรธ” หรือ “ นิพพาน”ทรงตรัสรู้วิธีดับอวิชชา ซึ่งเรียกว่า “ มรรค” หรือ “ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
ทรงพระนามว่า “ สัมมาสัมพุทธเจ้า” เพราะทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ
คำว่า พุทโธ แปลว่า ผู้ตรัสรู้ คำว่า สัม ที่นำหน้า พุทโธ นั้นแปลว่าด้วยพระองค์เอง ไม่มีผู้อื่นสั่งสอน ส่วนคำว่า สัมมา แปลว่า โดยชอบ หรือ “ โดยถูกต้อง ดังนั้น สัมมาสัมพุทโธ จึงมีความหมายว่า ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์โดยชอบ หรือทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยถูกต้อง
คำว่า พุทโธ เมื่อพิจารณาความหมายตามพระบาลีในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ที่ว่า จกฺขุ อุทปาทิ ญาณํ อุทปาทิ ปญฺญา อุปปาทิ วิชฺชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาทิฯ จะเห็นว่าคุณวิเศษทั้ง 5 อย่าง ดังบาลีที่ยกขึ้นกล่าวนี้ จะเป็นความหมายของคำว่า พุทฺโธ กล่าวคือ จกฺขุ ญาณํ ปณฺญา วิชฺชา อาโลโก ทั้ง 5 อย่างนี้ประมวลเข้าด้วยกันรวมเป็นคำแปลของคำว่า พุทฺโธ ถ้าจะแปลให้สั้นเข้า พุทโธ ก็ต้องแปลว่า ทั้งรู้ทั้งเห็น มิใช่รู้เฉยๆ โดยอาศัยคำว่า จกฺขุ ญาณํ
พระเดชพระคุณพระภาวนาวิริยคุณ(หลวงพ่อทัตตชีโว)ให้ความหมายว่า
“ พระคุณของพระสัมสัมพุทธเจ้า ประการที่ 2 สัมมาสัมพุทโธ คือ พระองค์ทรงทั้งรู้ทั้งเห็น แทงตลอดในเหตุและผลของสรรพสิ่งทั้งหลายตรงตามความเป็นจริง ด้วยพระธรรมกายของพระองค์เอง โดยมิได้มีผู้หนึ่งผู้ใดสั่งสอนเลย”
13.สาเหตุที่พระองค์ทรงสามารถตรัสรู้ด้วยพระองค์เองได้ ก็เพราะความเป็น”อรหันต์”ของพระองค์ดังกล่าวแล้วนั่นเอง เนื่องจากอำนาจสมาธิทำให้จิตของพระองค์สะอาดบริสุทธิ์ปราศจากอาสวะทั้งปวง ซึ่งนอกจากจะใสสว่างแล้วยังหยุดนิ่ง จึงมีสิ่งที่ผุดขึ้นในนิ่ง ทำให้รู้ พระองค์ก็ทรงรู้ไปตามนั้น ทำนองเดียวกับน้ำในโอ่งที่นอนนิ่งสนิท ใสบริสุทธิ์ แม้มีเข้มอยู่ก้นโอ่งก็สามารถมองเห็นได้ ข้อนี้ฉันใดก็ฉันนั้น ที่กล่าวว่าพระองค์ตรัสรู้โดยชอบหรือโดยถูกต้องนั้น หมายความว่า ตรัสรู้ทั้งเหตุ ตรัสรู้ทั้งผล กล่าวคือตรัสรู้เหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งสุข เหตุไม่ทุกข์และไม่สุข ซึ่งเหตุแห่งทุกข์ก็คือ อกุศลมูล ได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ หรือโลภ โกรธ หลง เหตุแห่งสุขก็ตรงกันข้ามกับเหตุแห่งทุกข์คือ กุศลมูล ได้แก่ อโลภะ อโทสะ อโมหะ หรือไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง เหตุแห่งไม่ทุกข์ไม่สุขหรือ อัพยากฤต ก็คือสภาพเป็นกลางๆ ไม่เป็นทั้งกุศลหรืออกุศล เป็นกิริยาประเภทสักแต่ว่าทำ เช่น ขณะกำหนดลมหายใจเข้า-ออก, การอ่านหนังสือออก, การกินข้าวอิ่ม จึงไม่เป็นเหตุแห่งสุขหรือทุกข์ สิ่งที่ลึกซึ้งกว่านี้ก็คือ ทรงตรัสรู้เหตุที่ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิดกันอยู่ในสังสารวัฏโดยมิรู้จบสิ้น หรือที่เรียกว่า “ สมุทัย” ก็คือ “ อวิชชา” “ อวิชชา” เป็นเหตุให้เกิดการเกิดการดับติดต่อกันเป็นลูกโซ่ ซึ่งเรียกว่า “ ปัจจยาการ” หรือ “ ปฏิจจสมุปบาท” ทรงตรัสรู้ว่าถ้าดับอวิชชาได้อย่างเดียว ทุกอย่าง “ หยุด” หมด ซึ่งเรียกว่า “ นิโรธ” หรือ “ นิพพาน”ทรงตรัสรู้วิธีดับอวิชชา ซึ่งเรียกว่า “ มรรค” หรือ “ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคแสดงถึงธรรมที่ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ คือ
ธรรมทั้งหลายที่เป็นอภิญไญย (ธรรมที่พึงรู้ยิ่ง คือ อริยสัจ 4) ได้แก่
ธรรมทั้งหลายที่เป็นปริญไญย(ธรรมที่พึงกำหนดรู้ คือทุกขสัจ)
ธรรมที่พึงที่เป็นปหาตัพพะ (ธรรมที่พึงละ คือ สมุทัยสัจ) ธรรมทั้งหลายที่เป็นสัจฉิกาตัพพะ
(ธรรมที่พึงทำให้แจ้ง คือ นิโรธสัจ) ธรรมทั้งหลายที่เป็นภาเวตัพพะ
(ธรรมที่พึงเจริญ คือ มรรคสัจ)
โดยสรุปก็คือตรัสรู้ อริยสัจ 4 ซิ่งมีทั้งเหตุและผล รวมทั้งวิธีดับเหตุโดยสมบูรณ์อยู่แล้ว เนื่องแล้ว เนื่องจากทรงรู้และทรงเห็นแจ้งแทงตลอดในสัจธรรมอันประเสริฐเช่นนั้น พระองค์จึงทรงพระนามว่า “ สัมมาสัมพุทโธ” คือ “ ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ”
2.3.3 วิชชาจรณสัมปันโน ทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
ทรงพระนามว่า “ วิชชาจรณสัมปันโน” เพราะทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
พระพุทธคุณข้อนี้ประกอบด้วยองค์ 2 คือ วิชชา และจรณะ
วิชชา ในที่นี้หมายถึง ความรู้ที่กำจัดมืดเสียได้ มืดในที่นี้หมายถึงขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ วิชชาตรงข้ามกับ “ อวิชชา” ซึ่งแปลว่า “ ไม่รู้” คือไม่รู้ถูกหรือผิด เพราะเข้าไปยึดมั่นในขันธ์ 5 ว่าเป็นตัวเป็นตน จึงมืดมน ไม่รู้อริยสัจ และปฏิจจสมุปบาท เพราะอวิชชาหรือเพราะไม่รู้ จึงยึดมั่นในขันธ์ 5 ว่าเป็นตัวเราของเรา ความยึดมั่นถือมั่นหรือมีศัพท์อีกอย่างหนึ่งว่า”อุปาทาน” อุปาทาน หรือความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ 5 นี้เองทำให้เรามืดมนไม่รู้เห็นของจริง คือ “ นิพพาน”
วิชชา มี 2 ประเภท คือ วิชชา 3 และ วิชชา 8
วิชชา 3 ประกอบด้วย
1.ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้
2.จุตูปปาตญาณ คือ ญาณที่ทำให้รู้ถึงการตายและการเกิดของสัตว์ทั้งหลาย
3.อาสวักขยญาณ คือ ญาณที่ทำให้กิเลสอาสวะหมดสิ้น
วิชชา 8 ประกอบด้วย
1.วิปัสสนาญาณ คือ ญาณที่ทำให้เข้าใจสังขารตามความเป็นจริง
2.มโนมยิทธิญาณ คือ ญาณที่สามารถเนรมิตกายได้ตามที่ต้องการ
3.อิทธิวิธีญาณ คือ ญาณที่สามารถแสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้
4.ทิพยโสตญาณ คือ มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งใกล้และไกลได้
5.เจโตปริยญาณ คือ ญาณที่ทำให้กำหนดรู้ใจของสัตว์และมนุษย์ได้
6.ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้
7.จุตูปปาตญาณ คือ ญาณที่ทำให้รู้ถึงการตายและการเกิดของสัตว์ทั้งหลาย
โดยสรุปก็คือตรัสรู้ อริยสัจ 4 ซิ่งมีทั้งเหตุและผล รวมทั้งวิธีดับเหตุโดยสมบูรณ์อยู่แล้ว เนื่องแล้ว เนื่องจากทรงรู้และทรงเห็นแจ้งแทงตลอดในสัจธรรมอันประเสริฐเช่นนั้น พระองค์จึงทรงพระนามว่า “ สัมมาสัมพุทโธ” คือ “ ทรงเป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ”
2.3.3 วิชชาจรณสัมปันโน ทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
ทรงพระนามว่า “ วิชชาจรณสัมปันโน” เพราะทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ
พระพุทธคุณข้อนี้ประกอบด้วยองค์ 2 คือ วิชชา และจรณะ
วิชชา ในที่นี้หมายถึง ความรู้ที่กำจัดมืดเสียได้ มืดในที่นี้หมายถึงขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ วิชชาตรงข้ามกับ “ อวิชชา” ซึ่งแปลว่า “ ไม่รู้” คือไม่รู้ถูกหรือผิด เพราะเข้าไปยึดมั่นในขันธ์ 5 ว่าเป็นตัวเป็นตน จึงมืดมน ไม่รู้อริยสัจ และปฏิจจสมุปบาท เพราะอวิชชาหรือเพราะไม่รู้ จึงยึดมั่นในขันธ์ 5 ว่าเป็นตัวเราของเรา ความยึดมั่นถือมั่นหรือมีศัพท์อีกอย่างหนึ่งว่า”อุปาทาน” อุปาทาน หรือความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ 5 นี้เองทำให้เรามืดมนไม่รู้เห็นของจริง คือ “ นิพพาน”
วิชชา มี 2 ประเภท คือ วิชชา 3 และ วิชชา 8
วิชชา 3 ประกอบด้วย
1.ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้
2.จุตูปปาตญาณ คือ ญาณที่ทำให้รู้ถึงการตายและการเกิดของสัตว์ทั้งหลาย
3.อาสวักขยญาณ คือ ญาณที่ทำให้กิเลสอาสวะหมดสิ้น
วิชชา 8 ประกอบด้วย
1.วิปัสสนาญาณ คือ ญาณที่ทำให้เข้าใจสังขารตามความเป็นจริง
2.มโนมยิทธิญาณ คือ ญาณที่สามารถเนรมิตกายได้ตามที่ต้องการ
3.อิทธิวิธีญาณ คือ ญาณที่สามารถแสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้
4.ทิพยโสตญาณ คือ มีหูทิพย์ ได้ยินเสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งใกล้และไกลได้
5.เจโตปริยญาณ คือ ญาณที่ทำให้กำหนดรู้ใจของสัตว์และมนุษย์ได้
6.ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้
7.จุตูปปาตญาณ คือ ญาณที่ทำให้รู้ถึงการตายและการเกิดของสัตว์ทั้งหลาย
8.อาสวักขยญาณ คือ ญาณที่ทำให้กิเลสอาสวะหมดสิ้น
จรณะ คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางบรรลุวิชชา มีองค์ 15 คือ
1.ศีลสังวร ได้แก่ การสำรวมให้พระปาฏิโมกข์
2.อินทรีย์สังวร ได้แก่ การสำรวมอินทรีย์ทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้อารมณ์ส่วนที่ชักนำไปทางชั่วเข้าติดอยู่ได้
การสังวรเหล่านี้ มีประจำพระองค์เป็นปกติอยู่เสมอไม่จำต้องพยายามฝืนอย่างปุถุชนทั้งหลาย
3.โภชเน มัตตัญญุตา ได้แก่ การรู้ประมาณในการบริโภค
4.ชาคริยานุโยค ได้แก่ การประกอบความเพียรที่ทำให้ตื่นอยู่เสมอ
5.สัทธา ได้แก่ ความเชื่อมั่นในความจริง ความดี สิ่งที่ดีงามและการทำความดี
พระองค์ประกอบด้วยสัทธาอย่างอุกฤษฎ์ เช่น ที่ปรากฎในเวสสันดรชาดก เป็นต้น
พระองค์ได้บำเพ็ญทานบารมีบริจาคของนอกกาย ทานอุปบารมีสละเนื้อเลือดเมื่อทำความเพียรทานปรมัตถบารมีสละได้ถึงชีวิตมาแล้วอย่างสมบูรณ์
6.หิริ ได้แก่ความละอายต่อความชั่ว
7.โอตตัปปะ ได้แก่ความสะดุ้งกลัวบาป
ทั้งหิริและโอตตัปปะ 2 ประการนี้เป็นจรณะที่ติดประจำพระองค์อยู่อย่างสมบูรณ์
8.พาหุสัจจะ ได้แก่ความเป็นผู้ฟังมาก
จรณะข้อนี้ มีประจำพระองค์มาแต่ครั้งสร้างบารมี ทรงเอาพระทัยใส่ฟังธรรมในสำนักต่างๆ เป็นลำดับมา กระทั่งอาฬารดาบสและอุทกดาบส ซึ่งได้เรียนรู้รูปฌาน อรูปฌาณ มาจากสำนักนี้
9.วิริยารัมภะ ได้แก่การทำความเพียรอย่างไม่ละลด
10.สติ คือความระลึกได้ โดยไม่เผลอหรือหลง
พระองค์ทรงมีสติอยู่เสมอ ไม่เผลอในกาลทุกเมื่อ เราผู้ปฏิบัติควรเจริญรอยตามดังแนวที่ทรงสนอนไว้ในมหาสติปัฏฐานสูตร ไม่ว่าจะเดิน ยืน นั่ง นอน ท่านหมายเอาสติที่ตรึกถึงกาย เวทนา จิต ธรรม
11.ปัญญา คือความรอบรู้ในกองสังขาร
พระองค์ทรงมีความรู้ความเห็นกว้างขวางหยั่งรู้เหตุผลถูกต้องไม่มีผิดพลาด
12.รูปปฐมฌาน ได้แก่ รูปฌาน 1
13.รูปทุติยฌาณ ได้แก่ รูปฌาน 2
14.รูปตติยณาน ได้แก่ รูปฌาน 3
15.รูปจตุตถฌาน ได้แก่ รูปฌาน 4
พระองค์ทรงได้อาศัยรูปฌาน มาเป็นประโยชน์ที่จะขยับขยายโลกียปัญญาให้เป็น โลกุตตรปัญญา ทรงเรียนฌานจากดาบส ต่อจากนั้นทรงแสวงหาต่อไปด้วยพระองค์เอง กระทั่งทรงบรรลุธรรมกาย ทรงหยั่งรู้ด้วยญาณของธรรมกาย ซึ่งจัดเป็นโลกุตตระ และทรงได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นองค์อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ยิ่งกว่านั้น พระองค์ทรงทราบว่า สิ่งใดเป็นประโยชน์ สิ่งใดไร้ประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทรงปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์แล้วยังทรงถ่ายทอดคุณธรรมที่เป็นประโยชน์ให้แก่เหล่าสาวกทั้งหลายด้วยพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกอบด้วยวิชชาและจรณะทั้งหลายเหล่านี้ เพราะเหตุนั้นจึงทรงพระนามว่า “ ทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ”
2.3.4 สุคโต ทรงเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
ทรงพระนามว่า “ สุคโต” เพราะทรงเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
พระพุทธคุณบทนี้ มีอธิบายความหมายในคัมภีร์วิสุทธิมรรคว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า สุคโต เพราะเป็นผู้มีทางเสด็จไปอันงาม (คือ อริยมรรค) เพราะเป็นผู้เสด็จไปแล้วเป็นอันดี(คือ บรรลุพระอมตะนิพพาน) เพราะเป็นผู้เสด็จไปแล้วโดยชอบ (คือ ไม่กลับมาสู่กิเลสทั้งหลายอีก หรืออีกอย่างหนึ่ง คือ ทรงทำแต่ประโยชน์เกื้อกูลแก่โลก)เพราะเป็นผู้ตรัสรู้โดยชอบ (คือทรงกล่าววาจาแต่ที่ควร ในฐานะอันควร)นอกจากนี้ อาจแสดงความหมายได้อีก 4 นัย คือ
1.เสด็จไปดี หมายความว่าพระองค์ทรงประพฤติดี ทั้งทางกาย วาจา ใจ คือกายสุจริต วาจาสุจริต ใจสุจริต ทรงประพฤติสม่ำเสมอมาเป็นอเนกชาติ ดับขันธ์จากชาติหนึ่งก็ไปสู่สุคติทุกชาติ ไม่ไปสู่ทุคติเลย เพราะเหตุนี้ จึงทรงพระนามว่า “ สุคโต”
2.เสด็จไปถูกต้อง หมายความว่าพระองค์ทรงดำเนินกาย วาจา ใจ ไปในแนวอริยมรรค ได้แก่มรรคมีองค์ 8 ซึ่งย่อลงเป็น ศีล สมาธิ ปัญญา พระองค์ทรงดำเนินทางศีล เป็นเบื้องต้น ศีลมีหลายประเภท ทรงจำแนกรายละเอียดไว้มากมาย ซึ่งรวมกันเข้าเป็นวินัยปิฎกถึง 5 พระคัมภีร์ ศีลนี้รวมกันเข้าปรากฎผลในการปฏิบัติเป็น “ ดวงปฐมมรรค” มีลักษณะเป็นดวงใสอยู่ที่ศูนย์กลางกาย นี้คือ “ สุคโต” ในทางศีลพระองค์ทรงดำเนินทางใจไปหยุดอยู่ตรงดวงปฐมมรรคนั้น หยุดสงบจน ราคะ โทสะ โมหะ อภิชฌา พยาบาท เข้ามาครอบงำพระทัยของพระองค์ไม่ได้ พระทัยจึงใส บริสุทธิ์ เป็นสมาธิ หยุดนิ่งจนกระทั่ง “ รู้” ผุดขึ้น เรียกว่า “ ปัญญา” หยุดนิ่งเช่นนั้นตั้งแต่กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนถึงพระธรรมกาย พระธรรมกายเข้าสมาบัติดูอริยสัจต่อไป ครั้นดวงใสถึงขนาด จึงตกศูนย์ แล้วกลายเป็นโสดาบันบุคคล สกิทาคามีบุคคล อนาคามีบุคคลตามลำดับ ครั้นธรรมกายอนาคามีบุคคลตกศูนย์ จึงเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเหตุนี้จึงทรงพระนามว่า “ สุคโต”
จรณะ คือ ข้อปฏิบัติอันเป็นทางบรรลุวิชชา มีองค์ 15 คือ
1.ศีลสังวร ได้แก่ การสำรวมให้พระปาฏิโมกข์
2.อินทรีย์สังวร ได้แก่ การสำรวมอินทรีย์ทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้อารมณ์ส่วนที่ชักนำไปทางชั่วเข้าติดอยู่ได้
การสังวรเหล่านี้ มีประจำพระองค์เป็นปกติอยู่เสมอไม่จำต้องพยายามฝืนอย่างปุถุชนทั้งหลาย
3.โภชเน มัตตัญญุตา ได้แก่ การรู้ประมาณในการบริโภค
4.ชาคริยานุโยค ได้แก่ การประกอบความเพียรที่ทำให้ตื่นอยู่เสมอ
5.สัทธา ได้แก่ ความเชื่อมั่นในความจริง ความดี สิ่งที่ดีงามและการทำความดี
พระองค์ประกอบด้วยสัทธาอย่างอุกฤษฎ์ เช่น ที่ปรากฎในเวสสันดรชาดก เป็นต้น
พระองค์ได้บำเพ็ญทานบารมีบริจาคของนอกกาย ทานอุปบารมีสละเนื้อเลือดเมื่อทำความเพียรทานปรมัตถบารมีสละได้ถึงชีวิตมาแล้วอย่างสมบูรณ์
6.หิริ ได้แก่ความละอายต่อความชั่ว
7.โอตตัปปะ ได้แก่ความสะดุ้งกลัวบาป
ทั้งหิริและโอตตัปปะ 2 ประการนี้เป็นจรณะที่ติดประจำพระองค์อยู่อย่างสมบูรณ์
8.พาหุสัจจะ ได้แก่ความเป็นผู้ฟังมาก
จรณะข้อนี้ มีประจำพระองค์มาแต่ครั้งสร้างบารมี ทรงเอาพระทัยใส่ฟังธรรมในสำนักต่างๆ เป็นลำดับมา กระทั่งอาฬารดาบสและอุทกดาบส ซึ่งได้เรียนรู้รูปฌาน อรูปฌาณ มาจากสำนักนี้
9.วิริยารัมภะ ได้แก่การทำความเพียรอย่างไม่ละลด
10.สติ คือความระลึกได้ โดยไม่เผลอหรือหลง
พระองค์ทรงมีสติอยู่เสมอ ไม่เผลอในกาลทุกเมื่อ เราผู้ปฏิบัติควรเจริญรอยตามดังแนวที่ทรงสนอนไว้ในมหาสติปัฏฐานสูตร ไม่ว่าจะเดิน ยืน นั่ง นอน ท่านหมายเอาสติที่ตรึกถึงกาย เวทนา จิต ธรรม
11.ปัญญา คือความรอบรู้ในกองสังขาร
พระองค์ทรงมีความรู้ความเห็นกว้างขวางหยั่งรู้เหตุผลถูกต้องไม่มีผิดพลาด
12.รูปปฐมฌาน ได้แก่ รูปฌาน 1
13.รูปทุติยฌาณ ได้แก่ รูปฌาน 2
14.รูปตติยณาน ได้แก่ รูปฌาน 3
15.รูปจตุตถฌาน ได้แก่ รูปฌาน 4
พระองค์ทรงได้อาศัยรูปฌาน มาเป็นประโยชน์ที่จะขยับขยายโลกียปัญญาให้เป็น โลกุตตรปัญญา ทรงเรียนฌานจากดาบส ต่อจากนั้นทรงแสวงหาต่อไปด้วยพระองค์เอง กระทั่งทรงบรรลุธรรมกาย ทรงหยั่งรู้ด้วยญาณของธรรมกาย ซึ่งจัดเป็นโลกุตตระ และทรงได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นองค์อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ยิ่งกว่านั้น พระองค์ทรงทราบว่า สิ่งใดเป็นประโยชน์ สิ่งใดไร้ประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทรงปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์แล้วยังทรงถ่ายทอดคุณธรรมที่เป็นประโยชน์ให้แก่เหล่าสาวกทั้งหลายด้วยพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกอบด้วยวิชชาและจรณะทั้งหลายเหล่านี้ เพราะเหตุนั้นจึงทรงพระนามว่า “ ทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ”
2.3.4 สุคโต ทรงเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
ทรงพระนามว่า “ สุคโต” เพราะทรงเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว
พระพุทธคุณบทนี้ มีอธิบายความหมายในคัมภีร์วิสุทธิมรรคว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า สุคโต เพราะเป็นผู้มีทางเสด็จไปอันงาม (คือ อริยมรรค) เพราะเป็นผู้เสด็จไปแล้วเป็นอันดี(คือ บรรลุพระอมตะนิพพาน) เพราะเป็นผู้เสด็จไปแล้วโดยชอบ (คือ ไม่กลับมาสู่กิเลสทั้งหลายอีก หรืออีกอย่างหนึ่ง คือ ทรงทำแต่ประโยชน์เกื้อกูลแก่โลก)เพราะเป็นผู้ตรัสรู้โดยชอบ (คือทรงกล่าววาจาแต่ที่ควร ในฐานะอันควร)นอกจากนี้ อาจแสดงความหมายได้อีก 4 นัย คือ
1.เสด็จไปดี หมายความว่าพระองค์ทรงประพฤติดี ทั้งทางกาย วาจา ใจ คือกายสุจริต วาจาสุจริต ใจสุจริต ทรงประพฤติสม่ำเสมอมาเป็นอเนกชาติ ดับขันธ์จากชาติหนึ่งก็ไปสู่สุคติทุกชาติ ไม่ไปสู่ทุคติเลย เพราะเหตุนี้ จึงทรงพระนามว่า “ สุคโต”
2.เสด็จไปถูกต้อง หมายความว่าพระองค์ทรงดำเนินกาย วาจา ใจ ไปในแนวอริยมรรค ได้แก่มรรคมีองค์ 8 ซึ่งย่อลงเป็น ศีล สมาธิ ปัญญา พระองค์ทรงดำเนินทางศีล เป็นเบื้องต้น ศีลมีหลายประเภท ทรงจำแนกรายละเอียดไว้มากมาย ซึ่งรวมกันเข้าเป็นวินัยปิฎกถึง 5 พระคัมภีร์ ศีลนี้รวมกันเข้าปรากฎผลในการปฏิบัติเป็น “ ดวงปฐมมรรค” มีลักษณะเป็นดวงใสอยู่ที่ศูนย์กลางกาย นี้คือ “ สุคโต” ในทางศีลพระองค์ทรงดำเนินทางใจไปหยุดอยู่ตรงดวงปฐมมรรคนั้น หยุดสงบจน ราคะ โทสะ โมหะ อภิชฌา พยาบาท เข้ามาครอบงำพระทัยของพระองค์ไม่ได้ พระทัยจึงใส บริสุทธิ์ เป็นสมาธิ หยุดนิ่งจนกระทั่ง “ รู้” ผุดขึ้น เรียกว่า “ ปัญญา” หยุดนิ่งเช่นนั้นตั้งแต่กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนถึงพระธรรมกาย พระธรรมกายเข้าสมาบัติดูอริยสัจต่อไป ครั้นดวงใสถึงขนาด จึงตกศูนย์ แล้วกลายเป็นโสดาบันบุคคล สกิทาคามีบุคคล อนาคามีบุคคลตามลำดับ ครั้นธรรมกายอนาคามีบุคคลตกศูนย์ จึงเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเหตุนี้จึงทรงพระนามว่า “ สุคโต”
3.เสด็จไปสู่ฐานะที่ดี หมายความว่าเสด็จไปสู่ฐานะอันประเสริฐ
และเป็นอมตะตลอดไป ดังพระบาลีว่า เขมํ ทิสํ คจฺฉมาโน แปลว่า
ไปสู่แดนอันเกษมคือนิพพาน กล่าวคือ เมื่อพระธรรมกายเพ่งเล็งถูกส่วน ตกศูนย์
มีอายตนะอีกอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “ อายตนนิพพาน” ดึงดูดพระธรรมกายที่ตกศูนย์นั้นเข้านิพพานอยู่เนืองนิตย์แม้ในขณะที่พระชนม์อยู่
จึงชื่อว่า ไปสู่แดนเกษม ประการหนึ่ง ครั้นเมื่อจะดับขันธ์ พระองค์ก็เข้าสมาบัติ
อายตนนิพพานดึงดูดเข้าสู่นิพพานไป เช่นนี้ ก็เรียกว่าเสด็จไปสู่แดนอันเกษม
หรือเสด็จไปสู่ฐานะที่ดี เพราะเหตุนี้จึงทรงพระนามว่า “ สุคโต”
4.เสด็จไปงาม หมายความว่าเมื่อครั้งเสด็จพระดำเนินไปโปรดปัญจวัคคีย์ยังป่าอิสิปตนะนั้น เสด็จพระดำเนินไปโดยพระบาท มีฉัพพรรณรังสีรุ่งโรจน์ จนแม้แต่สัตว์สี่เท้า สองเท้า ที่ได้แลเห็น ต่างก็งงงันพากันหยุดนิ่งตะลึงไปหมด อย่างนี้เรียกว่าทรงพระดำเนินงามหรือเสด็จไปงาม
2.3.5 โลกวิทู ทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก
ทรงพระนามว่า “ โลกวิทู” เพราะทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก คือทรงเข้าพระหฤทัยปรุโปร่งซึ่งโลกโดยประการทั้งปวง คือทั้งโดยสภาวะ ทั้งเหตุเกิดของโลก ธรรมที่ดับของโลก และรู้จักทางปฏิบัติให้ถึงธรรมที่ดับของโลก อีกนัยหนึ่ง หมายถึงทรงรู้แจ้งโลกทั้ง 3 คือ สัตวโลก สังขารโลก และโอกาสโลก
ทรงรู้แจ้งสัตวโลก(โลก คือ หมู่สัตว์) คือ ทรงรู้ความปรารถนาต่างๆ ของสัตว์ทั้งหลาย ทรงรู้ความแตกต่างของอินทรีย์ของสัตว์ เป็นต้น
ทรงรู้แจ้งสังขารโลก (โลก คือ สังขาร) คือ ทรงรู้แจ้งสังขาร ขันธ์ กรรม ธรรมทั้งที่ เป็นกุศล อกุศลและอัพยากฤต (คือธรรมที่ไม่เป็นกุศลและอกุศล) เป็นต้น
ทรงรู้โอกาสโลก หมายถึง ทรงรู้ถึงที่อยู่ถึงแผ่นดินที่สัตว์ทั้งหลายอุบัติเกิด รู้ความเป็นไป ของโลกธาตุ รู้เรื่องจักรวาล คือ ทรงรู้ในเรื่องจักรวาลวิทยา(cosmology) และอภิปรัชญา(metaphysis)
2.3.6 อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า
หมายถึง ยอดเยี่ยม เพราะพระพุทธองค์เป็นผู้ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และสรรพสัตว์ ไม่มีใครเหนือกว่า หาใครเทียบไม่ได้ พระพุทธองค์ทรงยอดเยี่ยมด้วยคุณต่างๆ คือ ศีลคุณ สมาธิคุณ ปัญญาคุณ วิมุตติคุณ วิมุตติญาณทัศนะคุณ คุณเหล่านี้ไม่มีใครยิ่งกว่า
ทรงเป็นผู้ฝึกบุรุษผู้ควรฝึก คือ ทรงสั่งสอนเวไนยสัตว์ทั้งหลาย ทรงฝึกมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย แม้สัตว์เดรัจฉานบางเหล่าบางพวก โดยวิธีการต่างๆทั้งปลอบโยน ทรมาน ยกย่อง ตามความสมควรตามความเหมาะสมแก่อัธยาศัยของสัตว์นั้นๆ เช่น การฝึกพวกชฎิลสามพี่น้องให้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ฝึกช้างนาฬาคีรีที่ถูกมอมเหล้าขาดสติ ให้ละพยศและตั้งมั่นในศีล เป็นต้น
2.3.7 สัตถา เทวนุสสานัง ทรงเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ทรงเป็นพระบรมศาสดา เป็นผู้นำของมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย ทรงนำไปให้พ้นจากที่กันดาร คือ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้เข้าถึงพระนิพพาน ประดุจพ่อค้านายกองเกวียนที่นำลูกน้องเดินทางพ้นที่กันดารที่มีภัยทั้งหลาย ไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางอย่างสุขสงบปลอดภัย
พระพุทธคุณข้อนี้เกิดจากพระองค์เป็นโลกวิทู เพราะทรงรู้แจ้งโลก จึงได้ทรงเป็นยอดนักฝึกมนุษย์อย่างดีเยี่ยมไม่มีใครเสมอเหมือน ไม่เฉพาะแต่มนุษย์เท่านั้นที่พระองค์ทรงฝึกได้ แม้แต่เทวดาทั้งหลาย ทั้ง 6 ชั้น รวมถึงรูปพรหม พระองค์ก็สามารถฝึกได้อย่างชนิดที่ไม่มีใครเทียบเหมือนกัน พระองค์จึงได้ชื่อว่าเป็นบรมครูของมนุษย์และมนุษย์ทั้งหลาย นอกจากนี้ยัง ไม่ทรงเหนื่อยในการที่จะฝึกอีกด้วย ดังปรากฎในพุทธกิจ 5 ประการว่า
1.เวลาเช้าทรงบิณฑบาต
2.เวลาเย็นทรงแสดงธรรมแก่มนุษย์
3.เวลาพลบค่ำทรงให้โอวาทภิกษุ
4.เวลาเที่ยงคืนทรงแก้ปัญหาเทวดา
5.เวลาย่ำรุ่งทรงพิจารณาดูเวไนยสัตว์
นี่คือสิ่งที่แสดงให้เห็นหัวใจของความเป็นครูของพุทธองค์ ที่ทรงทำหน้าที่เป็นครูให้แก่ทั้งเทวดาและมนุษย์อย่างเต็มที่ โดยมิได้ทรงเห็นแก่เวลาส่วนพระองค์เลย จึงสมที่พระองค์จะได้รับขนานพระนามว่า สัตถาเทวมนุสสานัง
2.3.8 พุทโธ ทรงเป็นผู้เบิกบานแล้ว
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ที่ได้ชื่อว่า พุทโธ เพราะได้ทำให้แจ้งในมรรคผลแล้ว ทรงมีพระบวรสันดานอบรมไว้ด้วยพระอรหัตตมรรคญาณอันประเสริฐเป็นเหตุให้เกิดสัพพัญญุตญาณ
คำว่า พุทโธ มีความหมาย ได้ถึง 15 ประการ คือ
1.ตรัสรู้อริยสัจ 4
2.กระทำสัตว์โลกที่มีบารมีสมควรตรัสรู้ ให้ตรัสรู้อริยสัจ
3.มีพระบวรพุทธสันดานอันทรงคุณ คือ สัพพัญญุตญาณอันสามารถตรัสรู้ไปในเญยยธรรมทั้งปวง
4.ทรงมีพระคุณ คือ พระอรหัตมรรคญาณหักรานกองกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาณ
5.ตรัสรู้อริยสัจ 4 ด้วยพระองค์เอง ไม่มีใครสอน
4.เสด็จไปงาม หมายความว่าเมื่อครั้งเสด็จพระดำเนินไปโปรดปัญจวัคคีย์ยังป่าอิสิปตนะนั้น เสด็จพระดำเนินไปโดยพระบาท มีฉัพพรรณรังสีรุ่งโรจน์ จนแม้แต่สัตว์สี่เท้า สองเท้า ที่ได้แลเห็น ต่างก็งงงันพากันหยุดนิ่งตะลึงไปหมด อย่างนี้เรียกว่าทรงพระดำเนินงามหรือเสด็จไปงาม
2.3.5 โลกวิทู ทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก
ทรงพระนามว่า “ โลกวิทู” เพราะทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก คือทรงเข้าพระหฤทัยปรุโปร่งซึ่งโลกโดยประการทั้งปวง คือทั้งโดยสภาวะ ทั้งเหตุเกิดของโลก ธรรมที่ดับของโลก และรู้จักทางปฏิบัติให้ถึงธรรมที่ดับของโลก อีกนัยหนึ่ง หมายถึงทรงรู้แจ้งโลกทั้ง 3 คือ สัตวโลก สังขารโลก และโอกาสโลก
ทรงรู้แจ้งสัตวโลก(โลก คือ หมู่สัตว์) คือ ทรงรู้ความปรารถนาต่างๆ ของสัตว์ทั้งหลาย ทรงรู้ความแตกต่างของอินทรีย์ของสัตว์ เป็นต้น
ทรงรู้แจ้งสังขารโลก (โลก คือ สังขาร) คือ ทรงรู้แจ้งสังขาร ขันธ์ กรรม ธรรมทั้งที่ เป็นกุศล อกุศลและอัพยากฤต (คือธรรมที่ไม่เป็นกุศลและอกุศล) เป็นต้น
ทรงรู้โอกาสโลก หมายถึง ทรงรู้ถึงที่อยู่ถึงแผ่นดินที่สัตว์ทั้งหลายอุบัติเกิด รู้ความเป็นไป ของโลกธาตุ รู้เรื่องจักรวาล คือ ทรงรู้ในเรื่องจักรวาลวิทยา(cosmology) และอภิปรัชญา(metaphysis)
2.3.6 อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า
หมายถึง ยอดเยี่ยม เพราะพระพุทธองค์เป็นผู้ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และสรรพสัตว์ ไม่มีใครเหนือกว่า หาใครเทียบไม่ได้ พระพุทธองค์ทรงยอดเยี่ยมด้วยคุณต่างๆ คือ ศีลคุณ สมาธิคุณ ปัญญาคุณ วิมุตติคุณ วิมุตติญาณทัศนะคุณ คุณเหล่านี้ไม่มีใครยิ่งกว่า
ทรงเป็นผู้ฝึกบุรุษผู้ควรฝึก คือ ทรงสั่งสอนเวไนยสัตว์ทั้งหลาย ทรงฝึกมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย แม้สัตว์เดรัจฉานบางเหล่าบางพวก โดยวิธีการต่างๆทั้งปลอบโยน ทรมาน ยกย่อง ตามความสมควรตามความเหมาะสมแก่อัธยาศัยของสัตว์นั้นๆ เช่น การฝึกพวกชฎิลสามพี่น้องให้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ฝึกช้างนาฬาคีรีที่ถูกมอมเหล้าขาดสติ ให้ละพยศและตั้งมั่นในศีล เป็นต้น
2.3.7 สัตถา เทวนุสสานัง ทรงเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ทรงเป็นพระบรมศาสดา เป็นผู้นำของมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย ทรงนำไปให้พ้นจากที่กันดาร คือ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้เข้าถึงพระนิพพาน ประดุจพ่อค้านายกองเกวียนที่นำลูกน้องเดินทางพ้นที่กันดารที่มีภัยทั้งหลาย ไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางอย่างสุขสงบปลอดภัย
พระพุทธคุณข้อนี้เกิดจากพระองค์เป็นโลกวิทู เพราะทรงรู้แจ้งโลก จึงได้ทรงเป็นยอดนักฝึกมนุษย์อย่างดีเยี่ยมไม่มีใครเสมอเหมือน ไม่เฉพาะแต่มนุษย์เท่านั้นที่พระองค์ทรงฝึกได้ แม้แต่เทวดาทั้งหลาย ทั้ง 6 ชั้น รวมถึงรูปพรหม พระองค์ก็สามารถฝึกได้อย่างชนิดที่ไม่มีใครเทียบเหมือนกัน พระองค์จึงได้ชื่อว่าเป็นบรมครูของมนุษย์และมนุษย์ทั้งหลาย นอกจากนี้ยัง ไม่ทรงเหนื่อยในการที่จะฝึกอีกด้วย ดังปรากฎในพุทธกิจ 5 ประการว่า
1.เวลาเช้าทรงบิณฑบาต
2.เวลาเย็นทรงแสดงธรรมแก่มนุษย์
3.เวลาพลบค่ำทรงให้โอวาทภิกษุ
4.เวลาเที่ยงคืนทรงแก้ปัญหาเทวดา
5.เวลาย่ำรุ่งทรงพิจารณาดูเวไนยสัตว์
นี่คือสิ่งที่แสดงให้เห็นหัวใจของความเป็นครูของพุทธองค์ ที่ทรงทำหน้าที่เป็นครูให้แก่ทั้งเทวดาและมนุษย์อย่างเต็มที่ โดยมิได้ทรงเห็นแก่เวลาส่วนพระองค์เลย จึงสมที่พระองค์จะได้รับขนานพระนามว่า สัตถาเทวมนุสสานัง
2.3.8 พุทโธ ทรงเป็นผู้เบิกบานแล้ว
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ที่ได้ชื่อว่า พุทโธ เพราะได้ทำให้แจ้งในมรรคผลแล้ว ทรงมีพระบวรสันดานอบรมไว้ด้วยพระอรหัตตมรรคญาณอันประเสริฐเป็นเหตุให้เกิดสัพพัญญุตญาณ
คำว่า พุทโธ มีความหมาย ได้ถึง 15 ประการ คือ
1.ตรัสรู้อริยสัจ 4
2.กระทำสัตว์โลกที่มีบารมีสมควรตรัสรู้ ให้ตรัสรู้อริยสัจ
3.มีพระบวรพุทธสันดานอันทรงคุณ คือ สัพพัญญุตญาณอันสามารถตรัสรู้ไปในเญยยธรรมทั้งปวง
4.ทรงมีพระคุณ คือ พระอรหัตมรรคญาณหักรานกองกิเลสเป็นสมุจเฉทปหาณ
5.ตรัสรู้อริยสัจ 4 ด้วยพระองค์เอง ไม่มีใครสอน
6.เป็นผู้เบิกบานด้วยพระอรหันมัคคญาณเหมือนดอกบัวที่เบ่งบานเมื่อได้รับแสงอาทิตย์
7.สิ้นจากอาสวะทั้ง 4 คือ กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ
8.มีพระบวรพุทธสันดานปราศจากกิเลสทั้งปวง
9.มีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ ปราศจากราคะ
10.มีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ ปราสจากโทสะ
11.มีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ ปราศจากโมหะ
12.ตื่นจากกิเลส เปรียบเหมือนคนตื่นจากหลับ
13.เสด็จไปสู่พระนิพพานด้วยหนทางมัชฌิมาปฏิปทา
14.ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณด้วยพระองค์เอง ไม่มีผู้ใดรู้เท่าเทียม
15.ทรงได้พุทธิ คือ อรหัตมัคญาณ ประหารอพุทธิเสียสิ้น(อพุทธิ คือ อวิชชา)
2.3.9 ภควา ทรงเป็นผู้จำแนกธรรม
ในบทพระพุทธคุณมี 2 คำ คือ คำที่ขึ้นต้นบท (อิติปิโส ภควา) และภควาที่ลงท้ายบททั้งสองคำมีความต่างกัน ภควาคำแรกเป็นคำร้องเรียกด้วยความเคารพว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ส่วนภควาคำหลังหมายถึง ผู้จำแนกแจกธรรม ผู้มีคุณธรรมสมบูรณ์พร้อม ทั้งทรงบริบูรณ์ด้วยพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณ ทรงนำธรรมะที่ตรัสรู้แล้วมาสอนเวไนยสัตว์
อีกนัยหนึ่งอธิบายได้ว่า ที่ทรงเป็นภควาเพราะทรงมีบุญ 6 ประการ คือ
1.อิสสริยะ เป็นผู้มีความเป็นใหญ่ 8 ประการ คือ
1)หายตัวได้อย่างมหัศจรรย์
2)เหาะไปได้อย่างรวดเร็ว
3)เนรมิตร่างกายให้ใหญ่ที่สุดจนหาที่เปรียบไม่ได้
4)เสด็จไปที่ใดๆ ก็ได้ตามพุทธประสงค์ โดยไม่มีสิ่งใดๆ มาขวางกั้นได้
5)เนรมิตเป็นรูปร่างต่างๆ สีสันต่างๆ กัน
6)มีอำนาจบังคับบัญชาตลอดจนถึงมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลายได้ทุกชั้น
7)สามารถเข้าฌานและทำอภิญญาได้ในทันทีที่ต้องการ
8)สามารถทำสิ่งต่างๆให้สำเร็จเสร็จโดยรวดเร็ว
7.สิ้นจากอาสวะทั้ง 4 คือ กามาสวะ ภวาสวะ ทิฏฐาสวะ
8.มีพระบวรพุทธสันดานปราศจากกิเลสทั้งปวง
9.มีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ ปราศจากราคะ
10.มีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ ปราสจากโทสะ
11.มีพระบวรพุทธสันดานทรงพระคุณ ปราศจากโมหะ
12.ตื่นจากกิเลส เปรียบเหมือนคนตื่นจากหลับ
13.เสด็จไปสู่พระนิพพานด้วยหนทางมัชฌิมาปฏิปทา
14.ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณด้วยพระองค์เอง ไม่มีผู้ใดรู้เท่าเทียม
15.ทรงได้พุทธิ คือ อรหัตมัคญาณ ประหารอพุทธิเสียสิ้น(อพุทธิ คือ อวิชชา)
2.3.9 ภควา ทรงเป็นผู้จำแนกธรรม
ในบทพระพุทธคุณมี 2 คำ คือ คำที่ขึ้นต้นบท (อิติปิโส ภควา) และภควาที่ลงท้ายบททั้งสองคำมีความต่างกัน ภควาคำแรกเป็นคำร้องเรียกด้วยความเคารพว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ส่วนภควาคำหลังหมายถึง ผู้จำแนกแจกธรรม ผู้มีคุณธรรมสมบูรณ์พร้อม ทั้งทรงบริบูรณ์ด้วยพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณ ทรงนำธรรมะที่ตรัสรู้แล้วมาสอนเวไนยสัตว์
อีกนัยหนึ่งอธิบายได้ว่า ที่ทรงเป็นภควาเพราะทรงมีบุญ 6 ประการ คือ
1.อิสสริยะ เป็นผู้มีความเป็นใหญ่ 8 ประการ คือ
1)หายตัวได้อย่างมหัศจรรย์
2)เหาะไปได้อย่างรวดเร็ว
3)เนรมิตร่างกายให้ใหญ่ที่สุดจนหาที่เปรียบไม่ได้
4)เสด็จไปที่ใดๆ ก็ได้ตามพุทธประสงค์ โดยไม่มีสิ่งใดๆ มาขวางกั้นได้
5)เนรมิตเป็นรูปร่างต่างๆ สีสันต่างๆ กัน
6)มีอำนาจบังคับบัญชาตลอดจนถึงมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลายได้ทุกชั้น
7)สามารถเข้าฌานและทำอภิญญาได้ในทันทีที่ต้องการ
8)สามารถทำสิ่งต่างๆให้สำเร็จเสร็จโดยรวดเร็ว
2.ธรรม ทรงได้โลกุตตรธรรม 9 คือ มรรค 4 ผล 4 และนิพพาน 1
3.ยศ ทรงมีเกียรติยศ ชื่อเสียงแผ่ไปทั่วทั้งในหมู่มนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย โดยไม่ต้องอวดอ้างโฆษณาหรือยกย่องพระองค์เอง
4.สิร ทรงมีผิวพรรณเปล่งปลั่ง รูปร่างงดงามเป็นสิริมงคล ชวนให้ดูได้ไม่เบื่อ เพียบพร้อมด้วยมหาปุรสลักษณะ 32 อนุพยัญชนะ 80 (อนุพยัญชนะ คือ ลักษณะปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ
5.กาม (ความปรารถนา) เมื่อทรงประสงค์สิ่งใดก็สำเร็จสมประสงค์ทุกประการ
6.ประโยชน์ ทรงใช้ความเพียรทั้งกลางวันกลางคืน เพื่อทำประโยชน์ให้กับสัตว์ทั้งหลาย เช่น เวลากลางวันทรงอบรมสั่งสอนให้ธรรมะแก่ผู้ที่มาเฝ้า เวลากลางคืนเทวดาและพรหมเฝ้าเพื่อฟังธรรมหรือทูลถามปัญหา เวลาใกล้รุ่งทรงตรวงดูหมู่สัตว์ทั้งหลายว่า มีผู้ใดบ้างที่เคยสร้างปัญญาบารมีมาแล้วจากชาติก่อนๆ เป็นผู้สมควรที่พระองค์ไปโปรดให้บรรลุมรรคผลได้ เป็นต้น
2.4 การเจริญพุทธานุสติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบายเกี่ยวกับการเจริญพุทธานุสติไว้เพียงว่า เป็นการตรองหรือคิดพิจารณาพระพุทธคุณเท่านั้น และทำให้ไปถึงสมาธิเพียงระดับ “ อุปจารสมาธิ” ซึ่งผู้เรียบเรียงเห็นว่าไม่น่าจะเป็นเพียงเท่านั้น จากคำอธิบายในทางปฏิบัติ “ วิชชาธรรมกาย” ของพระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธัมมชโย) โดยใจความว่า “ การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายมีอยู่เป็นล้านวิธี สรุปมาในวิสุทธิมรรค 40 วิธี เมื่อปฏิบัติแล้วสามารถเข้าถึงพระธรรมกายได้ทั้งสิ้น ดังนั้นการเจริญพุทธานุสติ เมื่อปฏิบัติจริงๆ แล้วสามารถเลยไปกว่า “ อุปจารสมาธิ” โดยอธิบายวิธีการปฏิบัติได้ดังนี้
เมื่อเราตรองระลึกถึงพระพุทธคุณทุกประการดังได้อธิบายข้างต้นแล้ว ใจจะมีพระพุทธองค์เป็นอารมณ์ แล้วจึงน้อมตรึกระลึกถึงองค์พระปฏิมากรองค์ใดองค์หนึ่งที่เราคุ้นเคย มาเป็น “ บริกรรมนิมิต” ที่ศูนย์กลางกาย พร้อมบริกรรมภาวนาด้วยพุทธคุณคำใดคำหนึ่ง เช่น พุทโธ สุคโต อรหัง หรือ สัมมาอรหัง กระทั่งนิมิตนั้นปรากฏติดแน่นเป็น “ อุคคหนิมิต” และค่อยกลั่นตัวใสเป็น “ ปฏิภาคนิมิต” จากนั้นใจก็จะรวมตกศูนย์เข้าถึง “ ดวงปฐมมรรค” (ดวงปฐมมรรคที่เข้าถึงนี้เป็นสมาธิระดับ “ อัปปนาสมาธิ”)
3.ยศ ทรงมีเกียรติยศ ชื่อเสียงแผ่ไปทั่วทั้งในหมู่มนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย โดยไม่ต้องอวดอ้างโฆษณาหรือยกย่องพระองค์เอง
4.สิร ทรงมีผิวพรรณเปล่งปลั่ง รูปร่างงดงามเป็นสิริมงคล ชวนให้ดูได้ไม่เบื่อ เพียบพร้อมด้วยมหาปุรสลักษณะ 32 อนุพยัญชนะ 80 (อนุพยัญชนะ คือ ลักษณะปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ
5.กาม (ความปรารถนา) เมื่อทรงประสงค์สิ่งใดก็สำเร็จสมประสงค์ทุกประการ
6.ประโยชน์ ทรงใช้ความเพียรทั้งกลางวันกลางคืน เพื่อทำประโยชน์ให้กับสัตว์ทั้งหลาย เช่น เวลากลางวันทรงอบรมสั่งสอนให้ธรรมะแก่ผู้ที่มาเฝ้า เวลากลางคืนเทวดาและพรหมเฝ้าเพื่อฟังธรรมหรือทูลถามปัญหา เวลาใกล้รุ่งทรงตรวงดูหมู่สัตว์ทั้งหลายว่า มีผู้ใดบ้างที่เคยสร้างปัญญาบารมีมาแล้วจากชาติก่อนๆ เป็นผู้สมควรที่พระองค์ไปโปรดให้บรรลุมรรคผลได้ เป็นต้น
2.4 การเจริญพุทธานุสติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบายเกี่ยวกับการเจริญพุทธานุสติไว้เพียงว่า เป็นการตรองหรือคิดพิจารณาพระพุทธคุณเท่านั้น และทำให้ไปถึงสมาธิเพียงระดับ “ อุปจารสมาธิ” ซึ่งผู้เรียบเรียงเห็นว่าไม่น่าจะเป็นเพียงเท่านั้น จากคำอธิบายในทางปฏิบัติ “ วิชชาธรรมกาย” ของพระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธัมมชโย) โดยใจความว่า “ การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายมีอยู่เป็นล้านวิธี สรุปมาในวิสุทธิมรรค 40 วิธี เมื่อปฏิบัติแล้วสามารถเข้าถึงพระธรรมกายได้ทั้งสิ้น ดังนั้นการเจริญพุทธานุสติ เมื่อปฏิบัติจริงๆ แล้วสามารถเลยไปกว่า “ อุปจารสมาธิ” โดยอธิบายวิธีการปฏิบัติได้ดังนี้
เมื่อเราตรองระลึกถึงพระพุทธคุณทุกประการดังได้อธิบายข้างต้นแล้ว ใจจะมีพระพุทธองค์เป็นอารมณ์ แล้วจึงน้อมตรึกระลึกถึงองค์พระปฏิมากรองค์ใดองค์หนึ่งที่เราคุ้นเคย มาเป็น “ บริกรรมนิมิต” ที่ศูนย์กลางกาย พร้อมบริกรรมภาวนาด้วยพุทธคุณคำใดคำหนึ่ง เช่น พุทโธ สุคโต อรหัง หรือ สัมมาอรหัง กระทั่งนิมิตนั้นปรากฏติดแน่นเป็น “ อุคคหนิมิต” และค่อยกลั่นตัวใสเป็น “ ปฏิภาคนิมิต” จากนั้นใจก็จะรวมตกศูนย์เข้าถึง “ ดวงปฐมมรรค” (ดวงปฐมมรรคที่เข้าถึงนี้เป็นสมาธิระดับ “ อัปปนาสมาธิ”)
2.5 อานิสงส์ของการเจริญพุทธานุสติ
ผู้ที่เจริญพุทธานุสติ จะได้รับอานิสงส์ดังนี้ คือ
1.ทำให้ถึงความไพบูลย์แห่งศรัทธา คือ มีศรัทธามั่นคงมากขึ้น
2.ทำให้มีสติ
3.ทำให้มีปัญญา
4.ทำให้มีบุญ
5.ทำให้มีความปีติปราโมทย์
6.ทำให้สามารถอดกลั้นทุกข์ได้
7.ทำให้ทนความกลัวอารมณ์ที่น่ากลัวได้
8.ทำให้มีความเป็นอยู่ใกล้พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
9.ทำให้มีความยำเกรงในพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
10.แม้ประสบกับสิ่งที่จะทำให้ล่วงละเมิดหรือทำความผิดได้ ก็จะเกิดหิริโอตตัปปะ มีความกลัวและละอายต่อบาป ประดุจว่าพระพุทธองค์ประทับอยู่ตรงหน้า
11.ร่างกายของผู้ที่พุทธานุสติครอบครองแล้วหรือเจริญพุทธานุสติอย่างดีแล้ว ย่อมเป็นที่ควรแก่การบูชาของมนุษย์และเทวดาประดุจดังเรือนเจดีย์
12.จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ
13.หากยังไม่สามารถสำเร็จมรรคผลนิพพาน ก็จะไปสู่สุคติ
2.6 วิธีเจริญธัมมานุสติ
ธัมมานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระธรรมเป็นอารมณ์ พระธรรม มี 3 ประการคือ
1.ปริยัติธรรม เป็นธรรมที่ต้องเล่าเรียน คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
2.ปฏิบัติธรรม เป็นข้อปฏิบัติ คือ ศีล สมาธิ ปัญญาเพื่อนำไปสู่พระนิพพาน
3.ปฏิเวธธรรม คือ มรรค ผล นิพพาน เป็นผลจากการปฏิบัติ ศีล สมาธิ ปัญญาฅ
การระลึกถึงคุณของพระธรรม ให้พิจารณาตามบทสรรเสริญพระธรรมคุณ ดังพระบาลี ที่ว่า
สวากขาโต ภควตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปนยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
ผู้ที่เจริญพุทธานุสติ จะได้รับอานิสงส์ดังนี้ คือ
1.ทำให้ถึงความไพบูลย์แห่งศรัทธา คือ มีศรัทธามั่นคงมากขึ้น
2.ทำให้มีสติ
3.ทำให้มีปัญญา
4.ทำให้มีบุญ
5.ทำให้มีความปีติปราโมทย์
6.ทำให้สามารถอดกลั้นทุกข์ได้
7.ทำให้ทนความกลัวอารมณ์ที่น่ากลัวได้
8.ทำให้มีความเป็นอยู่ใกล้พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
9.ทำให้มีความยำเกรงในพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
10.แม้ประสบกับสิ่งที่จะทำให้ล่วงละเมิดหรือทำความผิดได้ ก็จะเกิดหิริโอตตัปปะ มีความกลัวและละอายต่อบาป ประดุจว่าพระพุทธองค์ประทับอยู่ตรงหน้า
11.ร่างกายของผู้ที่พุทธานุสติครอบครองแล้วหรือเจริญพุทธานุสติอย่างดีแล้ว ย่อมเป็นที่ควรแก่การบูชาของมนุษย์และเทวดาประดุจดังเรือนเจดีย์
12.จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ
13.หากยังไม่สามารถสำเร็จมรรคผลนิพพาน ก็จะไปสู่สุคติ
2.6 วิธีเจริญธัมมานุสติ
ธัมมานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระธรรมเป็นอารมณ์ พระธรรม มี 3 ประการคือ
1.ปริยัติธรรม เป็นธรรมที่ต้องเล่าเรียน คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
2.ปฏิบัติธรรม เป็นข้อปฏิบัติ คือ ศีล สมาธิ ปัญญาเพื่อนำไปสู่พระนิพพาน
3.ปฏิเวธธรรม คือ มรรค ผล นิพพาน เป็นผลจากการปฏิบัติ ศีล สมาธิ ปัญญาฅ
การระลึกถึงคุณของพระธรรม ให้พิจารณาตามบทสรรเสริญพระธรรมคุณ ดังพระบาลี ที่ว่า
สวากขาโต ภควตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปนยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
2.6.1 สวากขาโต ภควตา ธัมโม
ธรรมที่พระพุทธองค์ตรัสรู้แล้ว หมายถึง ทั้งปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรม เป็นธรรมที่นำไปสู่การหลุดพ้น และพระองค์ก็ได้ตรัสไว้ดีแล้ว คือ ตรัสเทศนาไพเราะทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และเบื้องปลาย สมบูรณ์ด้วยอรรถและพยัญชนะ ทำให้ผู้ฟังสงบระงับดับเสีย ซึ่งความทุกข์ต่างๆ ที่มีกิเลสเป็นเหตุ ระหว่างประพฤติปฏิบัติตามก็มีแต่ความแช่มชื่นเบิกบานแจ่มใส สุขกาย สบายใจ หลังจากการประพฤติปฏิบัติยิ่งมีจิตใจอิ่มเอิบเป็นทวีคูณ ใกล้ความ สิ้นทุกข์ไปเรื่อยๆ สมความมุ่งหมายที่แสวงหามาช้านาน
2.6.2 สันทิฏฐิโก
เป็นธรรมที่บุคคลผู้ปฏิบัติจะเห็นประจักษ์เอง ได้แก่ มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 ไม่ใช่เป็นธรรมที่เพียงแต่ได้ยินได้ฟังแล้วจดจำไว้เท่านั้น เป็นของที่สามารถเห็นแจ้งประจักษ์ด้วยปัญญาของตนได้ ในเมื่อชำระจิตสันดานของตนให้สงบหรือหมดสิ้นจากกิเลสมีราคะ เป็นต้น
2.6.3 อกาลิโก
พระธรรมเป็นสิ่งที่ให้ผลโดยไม่มีกาลสมัย คือ ผู้ปฏิบัติ ปฏิบัติดีจริงเมื่อใดผลดีก็เกิดได้เมื่อนั้น ไม่ต้องรอเวลา เช่น มรรค 4 มีโสดาปัตติมรรค เป็นต้น เมื่อปฏิบัติก็ย่อมให้ผล ตามลำดับของตน ไม่ต้องรอ ต่างจากพืชที่เราปลูก เมื่อปลูกแล้วต้องรอเวลาให้ผล แต่ธรรมไม่ใช่เช่นนั้น เพราะเมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นผลจิตก็เกิดทันที ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา ไม่ต้องรอคอย
2.6.4 เอหิปัสสิโก
เป็นพระธรรมที่ควรเชื้อเชิญเรียกให้ผู้อื่นมาดู เพราะเป็นสิ่งมีจริงเหมือนดวงจันทร์อยู่บนฟ้าที่ปราศจากเมฆ หรือเหมือนดวงแก้วมณีที่วางไว้ในผ้ากัมพล ควรมาชื่นชมกัน
2.6.5 โอปนยิโก
มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 เป็นธรรมที่พึงน้อมเข้ามาในใจด้วยการเจริญภาวนา และทำให้แจ้งในพระนิพพาน ควรปฏิบัติด้วยความตั้งใจอันแน่วแน่แท้จริงเด็ดเดี่ยว แม้ถ้าจะมีไฟไหม้ บนศีรษะ หรือไหม้เครื่องนุ่งห่มที่ปกปิดร่างกายอยู่ก็ตามที ก็ไม่ใส่ใจดับไฟนั้น มากไปกว่าการปฏิบัติตามธรรม เพราะธรรมเหล่านี้เองปรากฏขึ้นเพียงครั้งเดียวก็สามารถปิดประตูอบายได้
2.6.6 ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
พระธรรมเป็นสิ่งที่ผู้มีปัญญาทั้งที่เป็นกัลยาณปุถุชน และอริยบุคคลทั้งหลายรู้ได้ เห็นแจ้งได้เฉพาะตน
ธรรมที่พระพุทธองค์ตรัสรู้แล้ว หมายถึง ทั้งปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรม เป็นธรรมที่นำไปสู่การหลุดพ้น และพระองค์ก็ได้ตรัสไว้ดีแล้ว คือ ตรัสเทศนาไพเราะทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และเบื้องปลาย สมบูรณ์ด้วยอรรถและพยัญชนะ ทำให้ผู้ฟังสงบระงับดับเสีย ซึ่งความทุกข์ต่างๆ ที่มีกิเลสเป็นเหตุ ระหว่างประพฤติปฏิบัติตามก็มีแต่ความแช่มชื่นเบิกบานแจ่มใส สุขกาย สบายใจ หลังจากการประพฤติปฏิบัติยิ่งมีจิตใจอิ่มเอิบเป็นทวีคูณ ใกล้ความ สิ้นทุกข์ไปเรื่อยๆ สมความมุ่งหมายที่แสวงหามาช้านาน
2.6.2 สันทิฏฐิโก
เป็นธรรมที่บุคคลผู้ปฏิบัติจะเห็นประจักษ์เอง ได้แก่ มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 ไม่ใช่เป็นธรรมที่เพียงแต่ได้ยินได้ฟังแล้วจดจำไว้เท่านั้น เป็นของที่สามารถเห็นแจ้งประจักษ์ด้วยปัญญาของตนได้ ในเมื่อชำระจิตสันดานของตนให้สงบหรือหมดสิ้นจากกิเลสมีราคะ เป็นต้น
2.6.3 อกาลิโก
พระธรรมเป็นสิ่งที่ให้ผลโดยไม่มีกาลสมัย คือ ผู้ปฏิบัติ ปฏิบัติดีจริงเมื่อใดผลดีก็เกิดได้เมื่อนั้น ไม่ต้องรอเวลา เช่น มรรค 4 มีโสดาปัตติมรรค เป็นต้น เมื่อปฏิบัติก็ย่อมให้ผล ตามลำดับของตน ไม่ต้องรอ ต่างจากพืชที่เราปลูก เมื่อปลูกแล้วต้องรอเวลาให้ผล แต่ธรรมไม่ใช่เช่นนั้น เพราะเมื่อมรรคจิตเกิดขึ้นผลจิตก็เกิดทันที ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา ไม่ต้องรอคอย
2.6.4 เอหิปัสสิโก
เป็นพระธรรมที่ควรเชื้อเชิญเรียกให้ผู้อื่นมาดู เพราะเป็นสิ่งมีจริงเหมือนดวงจันทร์อยู่บนฟ้าที่ปราศจากเมฆ หรือเหมือนดวงแก้วมณีที่วางไว้ในผ้ากัมพล ควรมาชื่นชมกัน
2.6.5 โอปนยิโก
มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 เป็นธรรมที่พึงน้อมเข้ามาในใจด้วยการเจริญภาวนา และทำให้แจ้งในพระนิพพาน ควรปฏิบัติด้วยความตั้งใจอันแน่วแน่แท้จริงเด็ดเดี่ยว แม้ถ้าจะมีไฟไหม้ บนศีรษะ หรือไหม้เครื่องนุ่งห่มที่ปกปิดร่างกายอยู่ก็ตามที ก็ไม่ใส่ใจดับไฟนั้น มากไปกว่าการปฏิบัติตามธรรม เพราะธรรมเหล่านี้เองปรากฏขึ้นเพียงครั้งเดียวก็สามารถปิดประตูอบายได้
2.6.6 ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
พระธรรมเป็นสิ่งที่ผู้มีปัญญาทั้งที่เป็นกัลยาณปุถุชน และอริยบุคคลทั้งหลายรู้ได้ เห็นแจ้งได้เฉพาะตน
2.7 การเจริญธัมมานุสติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบาย “ ธัมมานุสติ” ในทำนองคล้ายกับ “ พุทธานุสติ” คือ เป็นเพียงการตรองหรือคิดพิจารณาพระธรรมคุณเท่านั้น จึงทำให้เข้าถึงแค่ อุปจารสมาธิ แต่ถ้าหาก อธิบายด้วยวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย อาจอธิบายได้ดังนี้
เมื่อเราตรองตรึกถึงพระธรรมคุณ ทุกประการดังที่ได้อธิบายมาข้างต้น ใจก็จะมีพระธรรม เป็นอารมณ์ อย่างนี้แล้วจึงน้อมตรึกถึงสิ่งที่เป็นตัวแทนของพระธรรม อาทิเช่น คัมภีร์พระไตรปิฎก พระธรรมดวงแก้ว (คือ ดวงใสที่เราน้อมนึกถึงให้เป็นตัวแทนของ พระธรรม) มาเป็นบริกรรมนิมิต และบริกรรมภาวนาด้วยคำใดคำหนึ่งที่น้อมถึงพระธรรมคุณ เช่น ธัมโม อกาลิโก เป็นต้น เมื่อนิมิตติดแน่นเป็น “ อุคคหนิมิต” แล้วกลั่นตัวใสเป็น “ ปฏิภาคนิมิต” จากนั้นใจจึงตกศูนย์เข้าถึง “ ดวงปฐมมรรค” ที่แท้จริง
2.8 อานิสงส์ของการเจริญธัมมานุสติ
1.จิตของผู้เจริญธัมมานุสติ จะน้อมไปเพื่อตรัสรู้อนุตรธรรม
2.ทำให้มีความเคารพในพระธรรม
3.ทำให้มีศรัทธามากขึ้น
4.ทำให้มีสติ
5.ทำให้มีปัญญา
6.ทำให้มีบุญ
7.ทำให้มีความปีติปราโมทย์
8.ทำให้สามารถอดกลั้นทุกข์ได้
9.ทำให้ทนความกลัวอารมณ์ที่น่ากลัวได้
10.ทำให้มีความเป็นอยู่ใกล้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
11.แม้ประสบกับสิ่งที่จะทำให้ล่วงละเมิดหรือทำความผิดได้ ก็จะเกิดความกลัว ความละอายต่อบาป ประดุจว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ตรงหน้า
12.ร่างกายของผู้ที่ธัมมานุสติครอบครองแล้ว ย่อมเป็นของควรแก่การบูชาของมนุษย์และเทวดาประดุจดังเรือนเจดีย์
13.หากยังไม่สามารถสำเร็จมรรคผลนิพพาน ก็จะไปสู่สุคติ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบาย “ ธัมมานุสติ” ในทำนองคล้ายกับ “ พุทธานุสติ” คือ เป็นเพียงการตรองหรือคิดพิจารณาพระธรรมคุณเท่านั้น จึงทำให้เข้าถึงแค่ อุปจารสมาธิ แต่ถ้าหาก อธิบายด้วยวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย อาจอธิบายได้ดังนี้
เมื่อเราตรองตรึกถึงพระธรรมคุณ ทุกประการดังที่ได้อธิบายมาข้างต้น ใจก็จะมีพระธรรม เป็นอารมณ์ อย่างนี้แล้วจึงน้อมตรึกถึงสิ่งที่เป็นตัวแทนของพระธรรม อาทิเช่น คัมภีร์พระไตรปิฎก พระธรรมดวงแก้ว (คือ ดวงใสที่เราน้อมนึกถึงให้เป็นตัวแทนของ พระธรรม) มาเป็นบริกรรมนิมิต และบริกรรมภาวนาด้วยคำใดคำหนึ่งที่น้อมถึงพระธรรมคุณ เช่น ธัมโม อกาลิโก เป็นต้น เมื่อนิมิตติดแน่นเป็น “ อุคคหนิมิต” แล้วกลั่นตัวใสเป็น “ ปฏิภาคนิมิต” จากนั้นใจจึงตกศูนย์เข้าถึง “ ดวงปฐมมรรค” ที่แท้จริง
2.8 อานิสงส์ของการเจริญธัมมานุสติ
1.จิตของผู้เจริญธัมมานุสติ จะน้อมไปเพื่อตรัสรู้อนุตรธรรม
2.ทำให้มีความเคารพในพระธรรม
3.ทำให้มีศรัทธามากขึ้น
4.ทำให้มีสติ
5.ทำให้มีปัญญา
6.ทำให้มีบุญ
7.ทำให้มีความปีติปราโมทย์
8.ทำให้สามารถอดกลั้นทุกข์ได้
9.ทำให้ทนความกลัวอารมณ์ที่น่ากลัวได้
10.ทำให้มีความเป็นอยู่ใกล้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
11.แม้ประสบกับสิ่งที่จะทำให้ล่วงละเมิดหรือทำความผิดได้ ก็จะเกิดความกลัว ความละอายต่อบาป ประดุจว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ตรงหน้า
12.ร่างกายของผู้ที่ธัมมานุสติครอบครองแล้ว ย่อมเป็นของควรแก่การบูชาของมนุษย์และเทวดาประดุจดังเรือนเจดีย์
13.หากยังไม่สามารถสำเร็จมรรคผลนิพพาน ก็จะไปสู่สุคติ
2.9 วิธีเจริญสังฆานุสติ
สังฆานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระสงฆ์เป็นอารมณ์ พระสงฆ์ มี 2 จำพวก คือ สมมติสงฆ์ และอริยสงฆ์
พระอริยสงฆ์ คือ ท่านที่ดำรงอยู่ในมรรค 4 ผล 4
สมมติสงฆ์ คือ พระสงฆ์โดยสมมติ หมายถึง พระภิกษุแม้เพียงรูปเดียว ส่วนสงฆ์ ได้แก่ ภิกษุซึ่งจำนวนตั้งแต่ 4 รูป นั่งอยู่ภายในสีมา ไม่ละหัตถบาสกันและกันมีอำนาจในการทำ สังฆกรรม พระสงฆ์มีคุณเพราะท่านเป็น ผู้รักษาและสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งยังเป็นบุญเขตเป็นเนื้อนาบุญของโลก
การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ ให้พิจารณาตามบทสรรเสริญพระสังฆคุณ ดังพระบาลีที่ว่า
“ สุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ อุชุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ ญายปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ สามิจิปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ ยทิทัง จัตตาริ ปุริสยุคานิ อัฏฐะ ปุริสปุคคลา เอสะ ภควโต สาวกสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชลีกรณีโย อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะฯ”
2.9.1 สุปฏิปันโน
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ดำรงตนอยู่ในสัมมาปฏิบัติ สมบูรณ์ด้วยอธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา
2.9.2 อุชุปฏิปันโน
ปฏิบัติตรงต่อหนทางเข้าสู่พระนิพพาน ไม่ปฏิบัติในกามสุขัลลิกานุโยค และอัตตกิลม-ถานุโยค แต่ปฏิบัติตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง ไม่วอกแวกไปทางอื่น ปฏิบัติเพื่อละโทษคดโกง ทางกาย วาจา ใจ ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องทางโลก พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติเพื่อให้ได้สำเร็จพระนิพพาน พาตัวเองพ้นจากภพ 3 ไม่ปรารถนาโภคสมบัติ และภวสมบัติใดๆ
2.9.4 สามีจิปฏิปันโน
พระสงฆ์ผู้เป็นผู้ปฏิบัติชอบ สมควรแก่การกราบไหว้บูชาได้ด้วยกายใจ ตั้งใจปฏิบัติอย่างเหมาะสมดีเลิศในธรรมวินัยทั้งน้อยใหญ่ คือ ไม่หละหลวมดูเบาแม้ในธรรมเล็กน้อย และยอมทุ่มเทเอาชีวิตเป็นเดิมพันในธรรมที่ปฏิบัติได้โดยยาก พระอริยสงฆ์จัดได้เป็น 4 คู่ 8 บุคคล คือ
1.พระโสดาปัตติมรรค พระโสดาปัตติผล
2.พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล
3.พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล
4.พระอรหัตมรรค พระอรหัตผล
พระอริยสงฆ์ทั้ง 4 คู่นี้ จัดเป็น
สังฆานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระสงฆ์เป็นอารมณ์ พระสงฆ์ มี 2 จำพวก คือ สมมติสงฆ์ และอริยสงฆ์
พระอริยสงฆ์ คือ ท่านที่ดำรงอยู่ในมรรค 4 ผล 4
สมมติสงฆ์ คือ พระสงฆ์โดยสมมติ หมายถึง พระภิกษุแม้เพียงรูปเดียว ส่วนสงฆ์ ได้แก่ ภิกษุซึ่งจำนวนตั้งแต่ 4 รูป นั่งอยู่ภายในสีมา ไม่ละหัตถบาสกันและกันมีอำนาจในการทำ สังฆกรรม พระสงฆ์มีคุณเพราะท่านเป็น ผู้รักษาและสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งยังเป็นบุญเขตเป็นเนื้อนาบุญของโลก
การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ ให้พิจารณาตามบทสรรเสริญพระสังฆคุณ ดังพระบาลีที่ว่า
“ สุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ อุชุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ ญายปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ สามิจิปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ ยทิทัง จัตตาริ ปุริสยุคานิ อัฏฐะ ปุริสปุคคลา เอสะ ภควโต สาวกสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชลีกรณีโย อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะฯ”
2.9.1 สุปฏิปันโน
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ดำรงตนอยู่ในสัมมาปฏิบัติ สมบูรณ์ด้วยอธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา
2.9.2 อุชุปฏิปันโน
ปฏิบัติตรงต่อหนทางเข้าสู่พระนิพพาน ไม่ปฏิบัติในกามสุขัลลิกานุโยค และอัตตกิลม-ถานุโยค แต่ปฏิบัติตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง ไม่วอกแวกไปทางอื่น ปฏิบัติเพื่อละโทษคดโกง ทางกาย วาจา ใจ ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องทางโลก พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติเพื่อให้ได้สำเร็จพระนิพพาน พาตัวเองพ้นจากภพ 3 ไม่ปรารถนาโภคสมบัติ และภวสมบัติใดๆ
2.9.4 สามีจิปฏิปันโน
พระสงฆ์ผู้เป็นผู้ปฏิบัติชอบ สมควรแก่การกราบไหว้บูชาได้ด้วยกายใจ ตั้งใจปฏิบัติอย่างเหมาะสมดีเลิศในธรรมวินัยทั้งน้อยใหญ่ คือ ไม่หละหลวมดูเบาแม้ในธรรมเล็กน้อย และยอมทุ่มเทเอาชีวิตเป็นเดิมพันในธรรมที่ปฏิบัติได้โดยยาก พระอริยสงฆ์จัดได้เป็น 4 คู่ 8 บุคคล คือ
1.พระโสดาปัตติมรรค พระโสดาปัตติผล
2.พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล
3.พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล
4.พระอรหัตมรรค พระอรหัตผล
พระอริยสงฆ์ทั้ง 4 คู่นี้ จัดเป็น
2.9.5 อาหุเนยโย
เป็นผู้ควรรับอามิสบูชาที่เขานำมาจากแดนไกล เป็นผู้ให้เกิดผลดีอย่างมหาศาลแก่ผู้นำมาถวาย
2.9.6 ปาหุเนยโย
เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ คือ ของที่เขาควรถวายเมื่อไปถึงบ้าน ไม่ว่าจะเป็นที่นั่ง ข้าวน้ำ อาหาร และความสะดวกสบายใดๆ ที่ควรแก่ท่าน เป็นผู้ควรต้อนรับยิ่งกว่าแขกผู้ยิ่งใหญ่ทั้งหลาย
2.9.7 ทักขิเนยโยฅ
เป็นผู้ควรแก่การรับทักษิณาทาน คือ ทานที่ผู้อื่นถวาย เพราะผู้ที่ถวายสิ่งของแก่ พระอริยสงฆ์ ย่อมได้รับผลอันยิ่งใหญ่
2.9.8 อัญชลีกรณีโย
เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ ของทั้งมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย ผู้ใดได้กราบไหว้ท่านด้วยความเต็มใจ ย่อมเป็นการเปิดใจตนเองให้พร้อมที่จะน้อมรับคำสั่งสอนที่อุดมไปด้วยอมตธรรม สามารถน้อมนำใจให้หยุดนิ่ง เข้าถึงพระธรรมกายและบรรลุอริยธรรมตามท่านไปได้โดยง่าย แม้นิสัยบารมียังอ่อนอยู่ไม่สามารถจะบรรลุธรรมในขณะนั้น ก็สามารถน้อมนำให้บังเกิดศรัทธามั่นคงในพระรัตนตรัย เป็นการปิดอบายให้กับตนเองอย่างชาญฉลาดและมั่นคง
2.9.9 อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
เป็นเนื้อนาบุญอันประเสริฐ เป็นบุญเขตที่สรรพสัตว์ทั้งหลายจะได้รับบุญ เมื่อหว่านพืช คือศรัทธา ลงไปบนผืนนา คือพระสงฆ์นี้ แม้เพียงเล็กน้อย ก็จะได้รับผล คือ บุญอย่างมากมาย เนื่องจาก ท่านสามารถปราบกิเลสได้เด็ดขาดด้วยพระธรรมกายของท่าน ทำให้ทั้งกายและใจ ของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง และสามารถผลิตกระแสบุญได้อย่างมากกมายมหาศาล ไม่มีที่สิ้นสุด ดวงอาทิตย์สามารถผลิตแสงสว่างและความร้อนอย่างต่อเนื่องและมากมายมหาศาล ไม่มีประมาณฉันใด พระอริยเจ้าทั้งหลายย่อมสามารถผลิตบุญและความดีทั้งหลายอย่างมากมายมหาศาลและต่อเนื่องไม่มีประมาณยิ่งกว่าฉันนั้น ดวงอาทิตย์แม้จะให้ความร้อนและแสงสว่างได้มากมายมหาศาลก็เฉพาะในเวลากลางวัน แต่พระอริยเจ้าท่านให้บุญและความดีแก่ชาวโลกได้ทั้งกลางวันกลางคืนไม่มีว่างเว้น
สิ่งที่พึงระลึกอีกประการหนึ่ง คือ นอกจากพระอริยสงฆ์แล้ว บิดามารดา ก็จัดเป็น พระอรหันต์ของบุตรธิดา แม้ท่านจะไม่ได้หมดจดจากกิเลสเช่นเดียวกับพระอรหันต์ แต่พระคุณของท่านที่มีต่อบุตรธิดา ทำให้ท่านสมควรเป็นผู้รับการบูชา การเลี้ยงดูจากบุตรธิดา จัดเป็นอาหุเนยยบุคคลของบุตรธิดาเช่นกัน
เป็นผู้ควรรับอามิสบูชาที่เขานำมาจากแดนไกล เป็นผู้ให้เกิดผลดีอย่างมหาศาลแก่ผู้นำมาถวาย
2.9.6 ปาหุเนยโย
เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ คือ ของที่เขาควรถวายเมื่อไปถึงบ้าน ไม่ว่าจะเป็นที่นั่ง ข้าวน้ำ อาหาร และความสะดวกสบายใดๆ ที่ควรแก่ท่าน เป็นผู้ควรต้อนรับยิ่งกว่าแขกผู้ยิ่งใหญ่ทั้งหลาย
2.9.7 ทักขิเนยโยฅ
เป็นผู้ควรแก่การรับทักษิณาทาน คือ ทานที่ผู้อื่นถวาย เพราะผู้ที่ถวายสิ่งของแก่ พระอริยสงฆ์ ย่อมได้รับผลอันยิ่งใหญ่
2.9.8 อัญชลีกรณีโย
เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ ของทั้งมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย ผู้ใดได้กราบไหว้ท่านด้วยความเต็มใจ ย่อมเป็นการเปิดใจตนเองให้พร้อมที่จะน้อมรับคำสั่งสอนที่อุดมไปด้วยอมตธรรม สามารถน้อมนำใจให้หยุดนิ่ง เข้าถึงพระธรรมกายและบรรลุอริยธรรมตามท่านไปได้โดยง่าย แม้นิสัยบารมียังอ่อนอยู่ไม่สามารถจะบรรลุธรรมในขณะนั้น ก็สามารถน้อมนำให้บังเกิดศรัทธามั่นคงในพระรัตนตรัย เป็นการปิดอบายให้กับตนเองอย่างชาญฉลาดและมั่นคง
2.9.9 อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
เป็นเนื้อนาบุญอันประเสริฐ เป็นบุญเขตที่สรรพสัตว์ทั้งหลายจะได้รับบุญ เมื่อหว่านพืช คือศรัทธา ลงไปบนผืนนา คือพระสงฆ์นี้ แม้เพียงเล็กน้อย ก็จะได้รับผล คือ บุญอย่างมากมาย เนื่องจาก ท่านสามารถปราบกิเลสได้เด็ดขาดด้วยพระธรรมกายของท่าน ทำให้ทั้งกายและใจ ของท่านบริสุทธิ์ผุดผ่อง และสามารถผลิตกระแสบุญได้อย่างมากกมายมหาศาล ไม่มีที่สิ้นสุด ดวงอาทิตย์สามารถผลิตแสงสว่างและความร้อนอย่างต่อเนื่องและมากมายมหาศาล ไม่มีประมาณฉันใด พระอริยเจ้าทั้งหลายย่อมสามารถผลิตบุญและความดีทั้งหลายอย่างมากมายมหาศาลและต่อเนื่องไม่มีประมาณยิ่งกว่าฉันนั้น ดวงอาทิตย์แม้จะให้ความร้อนและแสงสว่างได้มากมายมหาศาลก็เฉพาะในเวลากลางวัน แต่พระอริยเจ้าท่านให้บุญและความดีแก่ชาวโลกได้ทั้งกลางวันกลางคืนไม่มีว่างเว้น
สิ่งที่พึงระลึกอีกประการหนึ่ง คือ นอกจากพระอริยสงฆ์แล้ว บิดามารดา ก็จัดเป็น พระอรหันต์ของบุตรธิดา แม้ท่านจะไม่ได้หมดจดจากกิเลสเช่นเดียวกับพระอรหันต์ แต่พระคุณของท่านที่มีต่อบุตรธิดา ทำให้ท่านสมควรเป็นผู้รับการบูชา การเลี้ยงดูจากบุตรธิดา จัดเป็นอาหุเนยยบุคคลของบุตรธิดาเช่นกัน
2.10 การเจริญสังฆานุสติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบาย “ สังฆานุสติ” ในทำนองคล้ายกับ “ พุทธานุสติ” คือ เป็นเพียงการตรองหรือคิดพิจารณาพระสังฆคุณเท่านั้น จึงทำให้เข้าถึงแค่ “ อุปจารสมาธิ” แต่ถ้าหากอธิบายด้วยวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย อาจอธิบายได้ดังนี้
เมื่อเราตรองตรึกถึงพระสังฆคุณทุกประการดังที่ได้อธิบายมาข้างต้น ใจก็จะมีพระสงฆ์เป็นอารมณ์ อย่างนี้แล้วจึงน้อมตรึกระลึกนึกถึงพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่ง ที่ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ มีพระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำ พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโย เป็นต้น มาเป็น บริกรรมนิมิต พร้อมกับบริกรรมภาวนาด้วยคำใดคำหนึ่งที่น้อมถึงพระสังฆคุณ เช่น สังโฆ สุปฏิปันโน เป็นต้น จนนิมิตติดแน่นเป็น “ อุคคหนิมิต” แล้วกลั่นตัวใสเป็น “ ปฏิภาคนิมิต” จากนั้น ใจจึงจะตกศูนย์เข้าถึง “ ดวงปฐมมรรค” ต่อไป
ส่วนอานิสงส์ของสังฆานุสติ เช่นเดียวกับพุทธานุสติ และธัมมานุสติ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบาย “ สังฆานุสติ” ในทำนองคล้ายกับ “ พุทธานุสติ” คือ เป็นเพียงการตรองหรือคิดพิจารณาพระสังฆคุณเท่านั้น จึงทำให้เข้าถึงแค่ “ อุปจารสมาธิ” แต่ถ้าหากอธิบายด้วยวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย อาจอธิบายได้ดังนี้
เมื่อเราตรองตรึกถึงพระสังฆคุณทุกประการดังที่ได้อธิบายมาข้างต้น ใจก็จะมีพระสงฆ์เป็นอารมณ์ อย่างนี้แล้วจึงน้อมตรึกระลึกนึกถึงพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่ง ที่ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ มีพระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำ พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโย เป็นต้น มาเป็น บริกรรมนิมิต พร้อมกับบริกรรมภาวนาด้วยคำใดคำหนึ่งที่น้อมถึงพระสังฆคุณ เช่น สังโฆ สุปฏิปันโน เป็นต้น จนนิมิตติดแน่นเป็น “ อุคคหนิมิต” แล้วกลั่นตัวใสเป็น “ ปฏิภาคนิมิต” จากนั้น ใจจึงจะตกศูนย์เข้าถึง “ ดวงปฐมมรรค” ต่อไป
ส่วนอานิสงส์ของสังฆานุสติ เช่นเดียวกับพุทธานุสติ และธัมมานุสติ
พุทธานุสสติกรรมฐาน กรรมฐานกองนี้ท่านสอนให้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า
การระลึกถึงความดีของพระพุทธเจ้า
ระลึกได้ไม่จำกัดว่าจะต้องระลึกตามแบบของท่านผู้นั้นผู้นี้ที่สอนไว้โดยจำกัด
เพราะพระพุทธคุณ คือคุณความดีของพระพุทธเจ้านั้นมีมากมายจะพรรณนาอย่างไรให้จบสิ้นนั้นย่อมเป็นไปไม่ได้
ตามพระบาลีท่านมีอยู่ว่า ถึงแม้ว่าจะปรากฏมี พระพุทธเจ้าขึ้นมา ๒ องค์
นั่งถามกันตอบกันถึงความดีของพระพุทธเจ้าที่ทรงอุบัติขึ้นมาแล้วในโลก
แม้แต่สิ้นเวลา ๑ กัป ก็ไม่จบความดีของพระพุทธเจ้าได้
ฉะนั้น ท่านโบราณาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า
"พุทโธ อัปปมาโณ" คุณของพระพุทธเจ้า หาประมาณมิได้
ระลึกตามแบบ
ระลึกตามแบบ
หมายความถึงการนั่งนอนระลึกนึกถึง พระพุทธคุณ ของพระพุทธเจ้า โดยยกเอาพระคุณของพระองค์
มาระลึกถึง เช่นระลึกถึงพระคุณสามประการ คือ
๑. ระลึกถึงความบริสุทธิ์ของพระองค์ ที่ทรงกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ไม่มีความชั่วเหลืออยู่ในพระกมลสันดาน พระองค์ทรงบริสุทธิ์ผุดผ่องจริงๆ เป็นความดี ที่เราควรปฏิบัติตาม
๒. ระลึกถึงพระปัญญาอันเฉียบแหลม เฉลียวฉลาดของพระองค์ ด้วยพระองค์มีความรู้ ความฉลาดยอดเยี่ยม กว่าเทวดา พรหม และมนุษย์ทั้งหลาย เพราะนอกจากจะทรงรู้ ในหลักวิชาการต่างๆ ตามความนิยมของปกติชนแล้ว พระองค์ยังทรงรู้ที่มา ของความทุกข์ และรู้การปฏิบัติเพื่อทำลายต้นตอ ของความทุกข์นั้นๆ ได้แก่ ทรงรู้ในอริยสัจ ๔
๓. ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ คือพระองค์เมื่อทรงเป็นผู้รู้ เลิศแล้ว พระองค์ มิได้ปกปิดความรู้นั้นเพื่อพระองค์เองโดยเฉพาะ พระองค์นำความรู้มาสั่งสอน แก่หมู่มวลชน อย่างเปิดเผย ไม่ปกปิดความรู้แม้แต่น้อย พระองค์ทรงทรมานพระวรกาย เพราะสั่งสอนพุทธเวไนยให้เกิดความรู้ความฉลาด เพื่อกำจัดเหตุชั่วร้ายที่ฝังอยู่ในสันดานมานาน มีสภาพคล้ายผีสิง เหตุชั่วร้ายนั้นก็คือความโลภ อยากได้สมบัติของผู้อื่นมาเป็นของตนความโกรธ คือความพยาบาท ความโหดร้ายที่ฝังอยู่ในใจ คิดที่จะประหัตประหาร ทำอันตรายผู้อื่นให้ได้รับความพินาศ ความหลง คือความโง่เขลาที่คอยกระตุ้นเตือนใจให้ลุ่มหลงในสรรพวัตถุ จนเกินพอดี คือคิดปลูกฝังใจในวัตถุ โดยไม่คิดว่า ของนั้นจะต้องเก่า จะต้องพังไปในสภาพสุดท้าย
พระองค์ทรงพระกรุณาสอนให้รู้ทั่วกันว่า การมุ่งหวังจะเอาทรัพย์ของผู้อื่น มาเป็นของตนนั้น เป็นความเลวร้ายที่ควรจะละ เพราะเป็นเหตุของการสร้างศัตรู การคิดประทุษร้าย ด้วยอำนาจโทสะ เป็นเหตุบั่นทอนความสุขส่วนตน เพราะผู้คิดนั้น เกิดความทุกข์ตั้งแต่เริ่มคิด คือกินไม่อิ่มนอนไม่หลับ ทำให้สุขภาพของเสื่อมโทรม ยังไม่ทันทำอันตรายเขา ผู้คิดก็ค่อยๆ ตายลงไปทีละน้อยๆ แล้ว เพราะเหตุที่กินน้อย นอนน้อย การหลงในทรัพย์เกินไป ที่ไม่คิดว่ามันจะต้องเก่า ต้องทำลาย ตามสภาพ เป็นเหตุให้เกิดความคับแค้น คือเสียใจ เศร้าใจ ทำให้ชีวิตไม่สดใส สดชื่น มีความเศร้าหมอง มีทุกข์ประจำใจเป็นปกติ
เมื่อความโลภอยากได้ทรัพย์สมบัติของผู้อื่นมาเป็นของของตนเกิดขึ้น พระองค์ทรงสอนให้รู้จักการให้ทาน เป็นการแก้ความรู้สึกเดิม เพราะทานเป็นการสละออก มีอาการตรงข้ามกับการคิดอยากได้ ผลทานนี้ก็มีผลเป็นเครื่องบันดาลความสุขในปัจจุบัน เพราะผู้รับทานย่อมมีความรัก และเคารพในผู้ให้ทาน การให้ทานเป็นการสร้างมิตร ตรงกันข้ามกับการคิดอยากได้ดังผู้อื่น เป็นเหตุของความทุกข์ เป็นเหตุของการสร้างศัตรู
ท่านสอนให้รักษาศีลเป็นเครื่องบั่นทอนกำลังพยาบาท เพราะมาจากโทสะ ความคิดประทุษร้ายเป็นสมุฏฐาน สำหรับการรักษาศีลนั้น มีเมตตา ความแสดงออกถึงความรัก ความสงสารเป็นสมุฏฐาน เมื่อรักษาศีล ก็ต้องมีเมตตา กรุณา ถ้าเมตตา กรุณา ไม่มีแล้ว ศีลก็ทรงตัวไม่ได้ ฉะนั้น ที่พระองค์ทรงสอนให้รักษาศีล ก็คือฝึกจิตให้มีเมตตาปรานี นั่นเอง ซึ่งมีคติตรงข้ามกับพยาบาท และเป็นอารมณ์หักล้างพยาบาทเป็นเหตุของความสุข เพราะคนที่มีความเมตตาปรานีนั้น ย่อมเป็นที่รักของมวลชน แม้สัตว์เดียรัจฉานก็รัก
เราจะเห็นได้ว่า บ้านที่มีสุนัขดุๆ ใครๆ ก็เข้าไม่ได้ ถ้าเราหมั่นเอาอาหารไปให้สุนัขตัวนั้นบ่อยๆ ไม่ช้าก็เชื่อง เป็นมิตรที่ดี ไม่ทำอันตราย คนมีเมตตา มีความสุขเพราะเป็นที่รักของชนทั่วไปอย่างนี้ เป็นการแก้เหตุของความทุกข์ ให้เป็นเหตุของความสุข จัดว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์อย่างมหันต์
ความหลง คือความโง่ ที่มีความคิดว่า อะไรที่เรามีแล้ว ต้องมีสภาพคงที่ ไม่เก่า ไม่ทำลาย พอของสิ่งนั้นเก่า หรือ ทำลาย ความเสียใจก็เกิดขึ้น กฎข้อนี้เป็นปกติธรรมดาก็จริง ที่พอจะรู้ได้ไม่ยาก แต่คนในโลกนี้ก็ไม่ค่อยคิดตาม กลับคิดฝืนกฎธรรมดา จนเป็นเหตุของความทุกข์อย่างมหันต์ เพราะคนเกิดแล้วต้องตาย ชาวบ้านชาวเมืองตายให้ดูเยอะแยะ ไม่จดจำ แต่พอตัวจะตาย ญาติตาย เกิดทุกข์ร้องไห้เสียใจ ความจริงความตายนี้เป็นของปกติธรรมดา ไม่มีใครพ้น แต่คนไม่คิด มีแต่ความผูกพัน คิดว่าจะอยู่ตลอดกาล
พระองค์เห็นว่าคนทั่วโลกโง่อย่างนี้ จึงทรงแก้ด้วยการสอนวิปัสสนาญาณ คือสอนให้รู้กฎของความเป็นจริง ยอมรับนับถือตามความเป็นจริง เป็นการเปลื้องอุปาทาน คือความโง่ ออกเสียจากความรู้สึก เป็นการสร้างความสบายใจให้เกิดแก่มวลพุทธศาสนิกชนทั่วไปท่านจะคิดใคร่ครวญถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าตามนี้ก็ได้ หรือจะคิดอย่างอื่นก็ได้ แต่ขอให้อยู่ในข่ายระลึกนึกถึงความดี ของพระพุทธเจ้าเป็นใช้ได้
๑. ระลึกถึงความบริสุทธิ์ของพระองค์ ที่ทรงกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ไม่มีความชั่วเหลืออยู่ในพระกมลสันดาน พระองค์ทรงบริสุทธิ์ผุดผ่องจริงๆ เป็นความดี ที่เราควรปฏิบัติตาม
๒. ระลึกถึงพระปัญญาอันเฉียบแหลม เฉลียวฉลาดของพระองค์ ด้วยพระองค์มีความรู้ ความฉลาดยอดเยี่ยม กว่าเทวดา พรหม และมนุษย์ทั้งหลาย เพราะนอกจากจะทรงรู้ ในหลักวิชาการต่างๆ ตามความนิยมของปกติชนแล้ว พระองค์ยังทรงรู้ที่มา ของความทุกข์ และรู้การปฏิบัติเพื่อทำลายต้นตอ ของความทุกข์นั้นๆ ได้แก่ ทรงรู้ในอริยสัจ ๔
๓. ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ คือพระองค์เมื่อทรงเป็นผู้รู้ เลิศแล้ว พระองค์ มิได้ปกปิดความรู้นั้นเพื่อพระองค์เองโดยเฉพาะ พระองค์นำความรู้มาสั่งสอน แก่หมู่มวลชน อย่างเปิดเผย ไม่ปกปิดความรู้แม้แต่น้อย พระองค์ทรงทรมานพระวรกาย เพราะสั่งสอนพุทธเวไนยให้เกิดความรู้ความฉลาด เพื่อกำจัดเหตุชั่วร้ายที่ฝังอยู่ในสันดานมานาน มีสภาพคล้ายผีสิง เหตุชั่วร้ายนั้นก็คือความโลภ อยากได้สมบัติของผู้อื่นมาเป็นของตนความโกรธ คือความพยาบาท ความโหดร้ายที่ฝังอยู่ในใจ คิดที่จะประหัตประหาร ทำอันตรายผู้อื่นให้ได้รับความพินาศ ความหลง คือความโง่เขลาที่คอยกระตุ้นเตือนใจให้ลุ่มหลงในสรรพวัตถุ จนเกินพอดี คือคิดปลูกฝังใจในวัตถุ โดยไม่คิดว่า ของนั้นจะต้องเก่า จะต้องพังไปในสภาพสุดท้าย
พระองค์ทรงพระกรุณาสอนให้รู้ทั่วกันว่า การมุ่งหวังจะเอาทรัพย์ของผู้อื่น มาเป็นของตนนั้น เป็นความเลวร้ายที่ควรจะละ เพราะเป็นเหตุของการสร้างศัตรู การคิดประทุษร้าย ด้วยอำนาจโทสะ เป็นเหตุบั่นทอนความสุขส่วนตน เพราะผู้คิดนั้น เกิดความทุกข์ตั้งแต่เริ่มคิด คือกินไม่อิ่มนอนไม่หลับ ทำให้สุขภาพของเสื่อมโทรม ยังไม่ทันทำอันตรายเขา ผู้คิดก็ค่อยๆ ตายลงไปทีละน้อยๆ แล้ว เพราะเหตุที่กินน้อย นอนน้อย การหลงในทรัพย์เกินไป ที่ไม่คิดว่ามันจะต้องเก่า ต้องทำลาย ตามสภาพ เป็นเหตุให้เกิดความคับแค้น คือเสียใจ เศร้าใจ ทำให้ชีวิตไม่สดใส สดชื่น มีความเศร้าหมอง มีทุกข์ประจำใจเป็นปกติ
เมื่อความโลภอยากได้ทรัพย์สมบัติของผู้อื่นมาเป็นของของตนเกิดขึ้น พระองค์ทรงสอนให้รู้จักการให้ทาน เป็นการแก้ความรู้สึกเดิม เพราะทานเป็นการสละออก มีอาการตรงข้ามกับการคิดอยากได้ ผลทานนี้ก็มีผลเป็นเครื่องบันดาลความสุขในปัจจุบัน เพราะผู้รับทานย่อมมีความรัก และเคารพในผู้ให้ทาน การให้ทานเป็นการสร้างมิตร ตรงกันข้ามกับการคิดอยากได้ดังผู้อื่น เป็นเหตุของความทุกข์ เป็นเหตุของการสร้างศัตรู
ท่านสอนให้รักษาศีลเป็นเครื่องบั่นทอนกำลังพยาบาท เพราะมาจากโทสะ ความคิดประทุษร้ายเป็นสมุฏฐาน สำหรับการรักษาศีลนั้น มีเมตตา ความแสดงออกถึงความรัก ความสงสารเป็นสมุฏฐาน เมื่อรักษาศีล ก็ต้องมีเมตตา กรุณา ถ้าเมตตา กรุณา ไม่มีแล้ว ศีลก็ทรงตัวไม่ได้ ฉะนั้น ที่พระองค์ทรงสอนให้รักษาศีล ก็คือฝึกจิตให้มีเมตตาปรานี นั่นเอง ซึ่งมีคติตรงข้ามกับพยาบาท และเป็นอารมณ์หักล้างพยาบาทเป็นเหตุของความสุข เพราะคนที่มีความเมตตาปรานีนั้น ย่อมเป็นที่รักของมวลชน แม้สัตว์เดียรัจฉานก็รัก
เราจะเห็นได้ว่า บ้านที่มีสุนัขดุๆ ใครๆ ก็เข้าไม่ได้ ถ้าเราหมั่นเอาอาหารไปให้สุนัขตัวนั้นบ่อยๆ ไม่ช้าก็เชื่อง เป็นมิตรที่ดี ไม่ทำอันตราย คนมีเมตตา มีความสุขเพราะเป็นที่รักของชนทั่วไปอย่างนี้ เป็นการแก้เหตุของความทุกข์ ให้เป็นเหตุของความสุข จัดว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์อย่างมหันต์
ความหลง คือความโง่ ที่มีความคิดว่า อะไรที่เรามีแล้ว ต้องมีสภาพคงที่ ไม่เก่า ไม่ทำลาย พอของสิ่งนั้นเก่า หรือ ทำลาย ความเสียใจก็เกิดขึ้น กฎข้อนี้เป็นปกติธรรมดาก็จริง ที่พอจะรู้ได้ไม่ยาก แต่คนในโลกนี้ก็ไม่ค่อยคิดตาม กลับคิดฝืนกฎธรรมดา จนเป็นเหตุของความทุกข์อย่างมหันต์ เพราะคนเกิดแล้วต้องตาย ชาวบ้านชาวเมืองตายให้ดูเยอะแยะ ไม่จดจำ แต่พอตัวจะตาย ญาติตาย เกิดทุกข์ร้องไห้เสียใจ ความจริงความตายนี้เป็นของปกติธรรมดา ไม่มีใครพ้น แต่คนไม่คิด มีแต่ความผูกพัน คิดว่าจะอยู่ตลอดกาล
พระองค์เห็นว่าคนทั่วโลกโง่อย่างนี้ จึงทรงแก้ด้วยการสอนวิปัสสนาญาณ คือสอนให้รู้กฎของความเป็นจริง ยอมรับนับถือตามความเป็นจริง เป็นการเปลื้องอุปาทาน คือความโง่ ออกเสียจากความรู้สึก เป็นการสร้างความสบายใจให้เกิดแก่มวลพุทธศาสนิกชนทั่วไปท่านจะคิดใคร่ครวญถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าตามนี้ก็ได้ หรือจะคิดอย่างอื่นก็ได้ แต่ขอให้อยู่ในข่ายระลึกนึกถึงความดี ของพระพุทธเจ้าเป็นใช้ได้
ระลึกตามบทพระพุทธคุณ ๙ อย่าง
การระลึกตามแบบพระพุทธคุณ ๙ อย่างนี้ เป็นการระลึกถึงผลที่พระองค์ทรงบรรลุ จะไม่นำมาเขียนไว้เห็นท่าจะไม่เหมาะ ขอนำมาเขียนไว้เพื่อทราบดังต่อไปนี้
๑. อรหัง คำว่า อรหัง นี้ แปลว่า ท่านผู้ไกลจากกิเลส หมายความว่า พระพุทธองค์ไม่มีกิเลสเครื่องเศร้าหมองอยู่ในพระหฤทัยเลย เป็นผู้มีจิตบริสุทธิ์ผุดผ่องจริงๆ
๒. สัมมาสัมพุทโธ แปลว่า ตรัสรู้เองโดยชอบ ความหมายนี้ หมายความว่า พระองค์ทรงรู้อริยสัจทั้ง ๔ คือรู้ทุกข์ คือความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ รู้สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ตัณหา ๓ ประการ คือ
กามตัณหา ทะยานอยากได้ในสิ่งที่ยังไม่เคยมี อยากให้มีขึ้น
ภวตัณหา สิ่งใดที่มีอยู่แล้ว อยากให้คงสภาพอยู่อย่างนั้น ไม่อยากให้เก่าไม่อยากให้เปลี่ยนแปลง
วิภวตัณหา อยากให้สิ่งที่จะต้องสลายตัวนั้น ที่เป็นไปตามกฏธรรมดา มีความปรารถนาไม่ให้กฏธรรมดาเกิดขึ้น คือ ไม่อยากให้สลาย และไม่อยากเสื่อม ไม่อยากตาย นั่นเอง
ความรู้สึกอย่างนี้เป็นความรู้สึกที่ฝืนกฎธรรมดา เป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ ทรงนิโรธะ คือความดับสูญไปแห่งความทุกข์ และทรงทราบมรรค คือปฏิปทาที่ปฏิบัติให้เข้าถึงความทุกข์ คือทุกข์นั้นสูญสิ้นไป ได้แก่ทรงทราบมรรคคือข้อปฏิบัติที่จะให้เข้าถึงความดับสูญไปแห่งทุกข์นี้ อันได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
๓. วิชชาจรณสัมปันโน แปลว่า พระองค์ทรงถึงพร้อมด้วย วิชชา และ จรณะ คือทรงมีความรู้รอบ และความประพฤติครบถ้วน
๏ วิชชา แปลว่า ความรู้ หมายถึงรู้ในวิชชาสาม ที่สามัญชนไม่สามารถจะรู้ได้ คือ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทรงมีความรู้ในการระลึกชาติ ที่ล่วงแล้วมาได้อย่างไม่จำกัด ไม่มีผู้อื่นใดจะระลึกชาติได้มากเท่าพระองค์ และพระองค์ทรงมีความชำนาญในการระลึกชาติได้อย่างเยี่ยม
จุตูปปาตญาณ พระองค์ทรงมีความรู้ความเกิด และความตายของสัตว์ โดยทรงรู้ว่า สัตว์ที่ตายไปแล้วนี้ไปเกิด ณ ที่ใด มีความสุขความทุกข์เป็นประการใด เพราะผลกรรมอะไรเป็นเหตุ และทรงทราบว่า สัตว์ที่เกิดมาแล้วนี้มาจากไหน ที่มีความสุข ความทุกข์อยู่นี้ เพราะอาศัยกรรมอะไรเป็นเหตุ
อาสวักขยญาณ ทรงรู้วิชชาที่ทำอาสวกิเลสให้หมดสิ้นไป
๏ จรณะ หมายถึงความประพฤติ พระองค์มีความประพฤติครบถ้วน ยอดเยี่ยม อันได้แก่ จรณะ ๑๕
๔. สุคโต แปลว่า เสด็จไปดีแล้ว หมายความว่า พระองค์เสด็จไป ณ ที่ใด พระองค์นำแต่ความสุขไปให้เจ้าของถิ่น คือนำความรู้อันเป็นเหตุของความสุขไปให้ ไม่เคยสร้างความเดือดร้อน ให้แก่ผู้ใด ใครก็ตาม บูชาพระองค์แล้ว ไม่เคยผิดหวังที่จะได้รับความสุขในทางปฏิบัติ
๕. โลกวิทู แปลว่า รู้แจ้งโลก หมายความว่า โลกทุกโลกมียมโลก คือโลกแห่งการทรมาณ ได้แก่นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก และพระนิพพาน อันเป็นดินแดนพ้นโลก พระองค์ทรงทราบตลอดหมดสิ้น แม้แต่ปฏิปทาที่จะให้ไปเกิดในโลกนั้นๆ
๖. อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ แปลว่า เป็นนายสารถีผู้ฝึก ไม่มีนายสารถีใด มีความสามารถฝึกได้เสมอเหมือนพระองค์ ทั้งนี้หมายความถึงการฝึกธรรมปฏิบัติ พระองค์ทรงมีญาณพิเศษที่เรียกว่า เจโตปริยญาณ ทรงรู้ใจคนว่า ผู้นี้ควรสอนอย่างไร จึงได้ผล พระองค์ทรงฝึกสอนตามที่รู้ด้วยพระญาณนั้น จึงมีความสามารถฝึกได้ดีเป็นพิเศษ
๗. สัตถา เทวมนุสสานัง แปลว่า พระองค์ทรงเป็นครูของเทวดาและมนุษย์ ทั้งนี้ หมายความว่า การสั่งสอนเพื่อมรรคผลนั้น พระองค์มิได้ทรงสั่งสอนแต่มนุษย์เท่านั้น แม้เทวดาและพรหม พระองค์ก็ทรงสั่งสอน การสอนมนุษย์ ท่านอาจไม่สงสัย แต่การสอนเทวดานั้น ท่านอาจจะแปลกใจ ข้อนี้ขอให้อ่านพุทธประวัติจะทราบ ว่าพระองค์ทรงสั่งสอนเทวดาและพรหม เป็นปกติเกือบทุกวัน เช่นเดียวกับสอนมนุษย์เหมือนกัน
๘. พุทโธแปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่นแล้ว ผู้เบิกบานแล้ว ได้เหมือนกัน ความหมายของ พุทโธ ก็มีอย่างนี้ คือ หมายถึงพระองค์ทรงรู้พระองค์ ด้วยความเป็นผู้บริบูรณ์ด้วย สติสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลานั่นเอง
๙. ภควา แปลว่า ผู้มีโชค หมายถึงพระองค์เป็นผู้มีโชคก่อนใครๆ ที่พระองค์เป็นผู้รู้เท่าทันอวิชชา คือความโง่เขลาเบาปัญญา ความโง่ไม่สามารถครอบงำ พระองค์ได้ โดยอาศัยที่พระองค์ทรงค้นพบอริยสัจ ๔ จึงสามารถทำลายอำนาจอวิชชา คือความโง่ให้สลายตัวไปเสียได้ เหลือไว้แต่ความฉลาดหลักแหลม ความโง่ไม่สามารถจะบังคับบัญชา พระองค์ให้หลงใหลไปในอำนาจกิเลส และตัณหาได้ต่อไป พระองค์ทรงพบความสุขที่ยอดเยี่ยม ไม่มีความสุขอื่นยิ่งกว่า ความสุขที่ว่านี้ คือ พระนิพพาน
พระพุทธคุณทั้ง ๙ ประการนี้ พระอาจารย์รุ่นเก่าท่านประพันธ์ไว้ให้บรรดาพุทธศาสนิกชน ระลึกนึกถึง จัดเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน คือตั้งอารมณ์ข่มนิวรณ์ ปรารภถึงความดีของพระพุทธเจ้า เมื่อพระโยคาวจร คือท่านนักปฏิบัติพระกรรมฐาน ได้คำนึงถึงความดีของพระพุทธเจ้า ตามที่เขียนมานี้ทั้งหมด หรือข้อใดข้อหนึ่ง หรือจะนึกถึงความดี ของพระพุทธเจ้า ในลักษณะอื่น แต่เป็นไปตามแบบพระพุทธจริยาแล้ว จนจิตมีความเคยชิน ระงับนิวรณ์ห้าเสียได้ จิตตั้งอยู่ในอุปจารสมาธิ แล้วเจริญวิปัสสนาญาณ ท่านว่าท่านผู้นั้น สามารถจะชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใสได้ เพราะอาศัยความเลื่อมใสในพระพุทธจริยา จัดว่าเป็นผู้มีโชคอย่างยิ่ง คือจะได้สำเร็จมรรคผลได้โดยฉับพลันพุทธานุสสติกรรมฐานนี้ ที่กล่าวมาแล้วนั้น กล่าวตามแบบแผนที่ท่านสอน และเป็นแบบตรงตามพระพุทธประสงค์ เพราะอาศัยที่พุทธานุสสติกรรมฐาน เป็นกรรมฐานที่มีอารมณ์คิด จึงมีกำลังเพียงอุปจารฌาน ไม่สามารถจะเข้าให้ถึงระดับฌานได้ แต่ที่ท่านสอนกันในปัจจุบัน ในแบบพุทธานุสสตินี้ ท่านสอนแบบควบหลายๆ อย่างรวมกัน
การระลึกตามแบบพระพุทธคุณ ๙ อย่างนี้ เป็นการระลึกถึงผลที่พระองค์ทรงบรรลุ จะไม่นำมาเขียนไว้เห็นท่าจะไม่เหมาะ ขอนำมาเขียนไว้เพื่อทราบดังต่อไปนี้
๑. อรหัง คำว่า อรหัง นี้ แปลว่า ท่านผู้ไกลจากกิเลส หมายความว่า พระพุทธองค์ไม่มีกิเลสเครื่องเศร้าหมองอยู่ในพระหฤทัยเลย เป็นผู้มีจิตบริสุทธิ์ผุดผ่องจริงๆ
๒. สัมมาสัมพุทโธ แปลว่า ตรัสรู้เองโดยชอบ ความหมายนี้ หมายความว่า พระองค์ทรงรู้อริยสัจทั้ง ๔ คือรู้ทุกข์ คือความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ รู้สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์ ได้แก่ตัณหา ๓ ประการ คือ
กามตัณหา ทะยานอยากได้ในสิ่งที่ยังไม่เคยมี อยากให้มีขึ้น
ภวตัณหา สิ่งใดที่มีอยู่แล้ว อยากให้คงสภาพอยู่อย่างนั้น ไม่อยากให้เก่าไม่อยากให้เปลี่ยนแปลง
วิภวตัณหา อยากให้สิ่งที่จะต้องสลายตัวนั้น ที่เป็นไปตามกฏธรรมดา มีความปรารถนาไม่ให้กฏธรรมดาเกิดขึ้น คือ ไม่อยากให้สลาย และไม่อยากเสื่อม ไม่อยากตาย นั่นเอง
ความรู้สึกอย่างนี้เป็นความรู้สึกที่ฝืนกฎธรรมดา เป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ ทรงนิโรธะ คือความดับสูญไปแห่งความทุกข์ และทรงทราบมรรค คือปฏิปทาที่ปฏิบัติให้เข้าถึงความทุกข์ คือทุกข์นั้นสูญสิ้นไป ได้แก่ทรงทราบมรรคคือข้อปฏิบัติที่จะให้เข้าถึงความดับสูญไปแห่งทุกข์นี้ อันได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
๓. วิชชาจรณสัมปันโน แปลว่า พระองค์ทรงถึงพร้อมด้วย วิชชา และ จรณะ คือทรงมีความรู้รอบ และความประพฤติครบถ้วน
๏ วิชชา แปลว่า ความรู้ หมายถึงรู้ในวิชชาสาม ที่สามัญชนไม่สามารถจะรู้ได้ คือ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทรงมีความรู้ในการระลึกชาติ ที่ล่วงแล้วมาได้อย่างไม่จำกัด ไม่มีผู้อื่นใดจะระลึกชาติได้มากเท่าพระองค์ และพระองค์ทรงมีความชำนาญในการระลึกชาติได้อย่างเยี่ยม
จุตูปปาตญาณ พระองค์ทรงมีความรู้ความเกิด และความตายของสัตว์ โดยทรงรู้ว่า สัตว์ที่ตายไปแล้วนี้ไปเกิด ณ ที่ใด มีความสุขความทุกข์เป็นประการใด เพราะผลกรรมอะไรเป็นเหตุ และทรงทราบว่า สัตว์ที่เกิดมาแล้วนี้มาจากไหน ที่มีความสุข ความทุกข์อยู่นี้ เพราะอาศัยกรรมอะไรเป็นเหตุ
อาสวักขยญาณ ทรงรู้วิชชาที่ทำอาสวกิเลสให้หมดสิ้นไป
๏ จรณะ หมายถึงความประพฤติ พระองค์มีความประพฤติครบถ้วน ยอดเยี่ยม อันได้แก่ จรณะ ๑๕
๔. สุคโต แปลว่า เสด็จไปดีแล้ว หมายความว่า พระองค์เสด็จไป ณ ที่ใด พระองค์นำแต่ความสุขไปให้เจ้าของถิ่น คือนำความรู้อันเป็นเหตุของความสุขไปให้ ไม่เคยสร้างความเดือดร้อน ให้แก่ผู้ใด ใครก็ตาม บูชาพระองค์แล้ว ไม่เคยผิดหวังที่จะได้รับความสุขในทางปฏิบัติ
๕. โลกวิทู แปลว่า รู้แจ้งโลก หมายความว่า โลกทุกโลกมียมโลก คือโลกแห่งการทรมาณ ได้แก่นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก และพระนิพพาน อันเป็นดินแดนพ้นโลก พระองค์ทรงทราบตลอดหมดสิ้น แม้แต่ปฏิปทาที่จะให้ไปเกิดในโลกนั้นๆ
๖. อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ แปลว่า เป็นนายสารถีผู้ฝึก ไม่มีนายสารถีใด มีความสามารถฝึกได้เสมอเหมือนพระองค์ ทั้งนี้หมายความถึงการฝึกธรรมปฏิบัติ พระองค์ทรงมีญาณพิเศษที่เรียกว่า เจโตปริยญาณ ทรงรู้ใจคนว่า ผู้นี้ควรสอนอย่างไร จึงได้ผล พระองค์ทรงฝึกสอนตามที่รู้ด้วยพระญาณนั้น จึงมีความสามารถฝึกได้ดีเป็นพิเศษ
๗. สัตถา เทวมนุสสานัง แปลว่า พระองค์ทรงเป็นครูของเทวดาและมนุษย์ ทั้งนี้ หมายความว่า การสั่งสอนเพื่อมรรคผลนั้น พระองค์มิได้ทรงสั่งสอนแต่มนุษย์เท่านั้น แม้เทวดาและพรหม พระองค์ก็ทรงสั่งสอน การสอนมนุษย์ ท่านอาจไม่สงสัย แต่การสอนเทวดานั้น ท่านอาจจะแปลกใจ ข้อนี้ขอให้อ่านพุทธประวัติจะทราบ ว่าพระองค์ทรงสั่งสอนเทวดาและพรหม เป็นปกติเกือบทุกวัน เช่นเดียวกับสอนมนุษย์เหมือนกัน
๘. พุทโธแปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่นแล้ว ผู้เบิกบานแล้ว ได้เหมือนกัน ความหมายของ พุทโธ ก็มีอย่างนี้ คือ หมายถึงพระองค์ทรงรู้พระองค์ ด้วยความเป็นผู้บริบูรณ์ด้วย สติสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลานั่นเอง
๙. ภควา แปลว่า ผู้มีโชค หมายถึงพระองค์เป็นผู้มีโชคก่อนใครๆ ที่พระองค์เป็นผู้รู้เท่าทันอวิชชา คือความโง่เขลาเบาปัญญา ความโง่ไม่สามารถครอบงำ พระองค์ได้ โดยอาศัยที่พระองค์ทรงค้นพบอริยสัจ ๔ จึงสามารถทำลายอำนาจอวิชชา คือความโง่ให้สลายตัวไปเสียได้ เหลือไว้แต่ความฉลาดหลักแหลม ความโง่ไม่สามารถจะบังคับบัญชา พระองค์ให้หลงใหลไปในอำนาจกิเลส และตัณหาได้ต่อไป พระองค์ทรงพบความสุขที่ยอดเยี่ยม ไม่มีความสุขอื่นยิ่งกว่า ความสุขที่ว่านี้ คือ พระนิพพาน
พระพุทธคุณทั้ง ๙ ประการนี้ พระอาจารย์รุ่นเก่าท่านประพันธ์ไว้ให้บรรดาพุทธศาสนิกชน ระลึกนึกถึง จัดเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน คือตั้งอารมณ์ข่มนิวรณ์ ปรารภถึงความดีของพระพุทธเจ้า เมื่อพระโยคาวจร คือท่านนักปฏิบัติพระกรรมฐาน ได้คำนึงถึงความดีของพระพุทธเจ้า ตามที่เขียนมานี้ทั้งหมด หรือข้อใดข้อหนึ่ง หรือจะนึกถึงความดี ของพระพุทธเจ้า ในลักษณะอื่น แต่เป็นไปตามแบบพระพุทธจริยาแล้ว จนจิตมีความเคยชิน ระงับนิวรณ์ห้าเสียได้ จิตตั้งอยู่ในอุปจารสมาธิ แล้วเจริญวิปัสสนาญาณ ท่านว่าท่านผู้นั้น สามารถจะชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใสได้ เพราะอาศัยความเลื่อมใสในพระพุทธจริยา จัดว่าเป็นผู้มีโชคอย่างยิ่ง คือจะได้สำเร็จมรรคผลได้โดยฉับพลันพุทธานุสสติกรรมฐานนี้ ที่กล่าวมาแล้วนั้น กล่าวตามแบบแผนที่ท่านสอน และเป็นแบบตรงตามพระพุทธประสงค์ เพราะอาศัยที่พุทธานุสสติกรรมฐาน เป็นกรรมฐานที่มีอารมณ์คิด จึงมีกำลังเพียงอุปจารฌาน ไม่สามารถจะเข้าให้ถึงระดับฌานได้ แต่ที่ท่านสอนกันในปัจจุบัน ในแบบพุทธานุสสตินี้ ท่านสอนแบบควบหลายๆ อย่างรวมกัน
พุทธานุสสติถึงสมาบัติ
แทนที่เราจะภาวนาเฉยๆ เราก็ จับภาพพระพุทธรูป กำหนดภาพไว้ ลืมตาดูภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้ นึกถึงภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้ ที่เราต้องการ เรามีความเลื่อมใสพอใจอยู่ เวลาจับลมหายใจเข้าออก ภาวนาว่า พุทโธ ก็นึกภาพขององค์สมเด็จพระบรมครู จะเป็นพระพุทธรูปก็ได้ ให้ปรากฏอยู่ในใจ ไม่ใช่ไปนั่งคอยให้ภาพลอยมาแบบนี้ใช้ไม่ได้ ภาวนาไปแล้วก็นึกถึงภาพไปด้วย จะนึกอยู่ในอก ให้เห็นอยู่ในอก หรือเห็นภายนอกก็ได้ไม่จำกัด ถ้านึกถึงภาพนั้นตามภาพเดิม อย่างนี้เรียกว่า อุคคหสมาธิ หรือ อุคคหนิมิต
ถ้าภาพเดิมนั้นขยายไป เปลี่ยนแปลงไปชักจะใหญ่ขึ้น จะสูงขึ้น จะเล็กลง แล้วก็มีสีสันวรรณะ เริ่มเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยๆ จากสีเดิมกลายเป็นสีจางไปนิดหน่อย จางลงไปจางลงไป แต่เรารู้สึกอารมณ์จิตนึกเห็นชัด นึกเห็นนะไม่ใช่ภาพลอยมา อารมณ์จิตนึกเห็นจนกระทั่งปรากฏเป็นแก้วใส อย่างนี้ก็ชื่อว่าเป็น อุปจารสมาธิตอนกลาง
ตอนนี้แก้วใสที่กลายเป็นแก้วประกายพรึก แพรวพราวไปหมดทั้งองค์ จิตใจสามารถจะบังคับให้ภาพนั้นเล็กก็ได้ จะให้ใหญ่ก็ได้ สูงก็ได้ ต่ำก็ได้ ตั้งอยู่ข้างหน้าก็ได้ ข้างหลังก็ได้ ตามใจนึก นึกอย่างไร ภาพนั้นปรากฏไปตามนั้น มีความใสสะอาดสุกใสเป็นกรณีพิเศษ อย่างนี้องค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ ท่านกล่าวว่าเป็น ปฐมฌาน
การจับภาพนี่จับให้สนิท ให้คิดอยู่เมื่อไรได้เมื่อนั้น เดินไปบิณฑบาต เดินไปธุระ นั่งอยู่ นึกเห็นเมื่อไรเห็นได้เมื่อนั้นทันที นี่อย่างนี้เป็น กสิณ ด้วย เป็นพุทธานุสสติกรรมฐานด้วย ถ้าการเห็นภาพแบบนั้นปรากฏว่า คำภาวนาว่า พุทโธ หายไป ภาพใสขึ้นผิดกว่าเดิม อันนี้เป็น ฌานที่ ๒ แต่มีจิตชุ่มชื่น อาการของจิตมันเหมือนกัน ภาพใสสะอาดขึ้น มีการทรงตัวมากขึ้น มีความแจ่มใสขึ้น ความชุ่มชื่นหายไป มีอาการเครียด จิตทรงตัวแนบนิ่งสนิท แล้วก็ลมหายใจน้อย ได้ยินเสียงภายนอกเบา อันนี้เป็น ฌานที่ ๓
การเห็นภาพชัดเจนแจ่มใสมากเป็นกรณีพิเศษ สว่างไสว คล้ายกับพระอาทิตย์ทรงกลด หรือว่าคล้ายกับกระจกเงาที่สะท้อนแสงแดดดวงใหญ่ ใจไม่ยุ่งกับอารมณ์อย่างอื่น เป็นอุเบกขารมณ์ ทรงสบาย เห็นแนบนิ่งสนิท จะนั่งนานเท่าไรก็เห็นได้ตามความปรารถนา หูไม่ได้ยินเสียงภายนอก ไม่ปรากฏลมหายใจ อย่างนี้เป็น ฌานที่ ๔ ก็ยังเป็นรูปฌานอยู่
ทีนี้ถ้าหากว่าเราจะทำเป็นอรูปฌาน จะทำอย่างไรเราจะทำถึงฌาน ๘ กันนี่ นี่เป็นวิธีแนะนำปฏิบัติตามผลแห่งการปฏิบัติจริงๆ ไม่ใช่เกาะตำราเสียจนแจแล้วไปไหนไม่พ้น การทำให้ถึงฌาน ๘ เขาทำแบบนี้
จับภาพพระพุทธเจ้าองค์นั้นแหละ ที่เป็นประกายพรึกอยู่ เพ่งจับจุดให้จิตจับดี เมื่อจิตทรงอารมณ์ดีแล้ว ก็เพิกภาพนั้นให้หายไป คำว่าเพิก เป็นภาษาโบราณ คือนึกว่าขอภาพนี้จงหายไป จับ อากาสานัญจายตนะ แทน คือพิจารณาอากาศว่า อากาศนี้หาที่สุดมิได้ มันเวิ้งว้างว่างเปล่า ไม่มีจุดจบ จับอากาศเป็นอารมณ์อย่างนี้ เรียกว่า อากาสานัญจายตนะ จิตทรงอยู่ในด้านของฌาน ๔ จับอากาศ ความหวั่นการเคลื่อนไหวของอากาศว่า ว่างมาก โลกนี้หาอะไรเป็นที่สุดมิได้ หานิมิตเครื่องหมายอะไรไม่ได้เลย หาจุดจบไม่ได้ จนกระทั่งจิตทรงอารมณ์ทรงตัวดีแล้ว อย่างนี้จัดเป็น อรูปฌานที่ ๑ ถ้าจะเรียกกันว่าฌาน ก็เป็น ฌานที่ ๕ หรือ สมาบัติ ๕
เมื่อจับอารมณ์ของอากาศได้แบบสบายๆ ใจสบาย นึกขึ้นมาว่าอากาศมันเวิ้งว้าง ทุกอย่างมันว่างเปล่าเป็นอากาศไปหมด โลกทั้งโลกไม่มีอะไรทรงตัว คนเกิดมาแล้วก็ตาย สัตว์เกิดมาแล้วก็ตาย ต้นไม้เกิดมาแล้วก็ตาย ภูเขาไม่ช้ามันก็พัง บ้านเรือนโรงก็พัง ผลที่สุดมันก็ว่างไปหมด อย่างนี้เรียกว่า จิตเข้าถึงอากาศได้เป็นอย่างดี เป็น อากาสานัญจายตนะ
ทีนี้ก็มาเป็นวิญญานัญจายตนะ นึกถึงวิญญาณ คือจิต สภาวะของจิต ที่มีอารมณ์คิดเป็นปกติ มันก็ไม่มีอาการทรงตัว มันหาที่สุดไม่ได้ มันไม่มีอะไรทรงตัวอยู่เฉพาะแน่นอน เดี๋ยวมันก็คิดอย่างนั้น เดี๋ยวมันก็คิดอย่างนี้ เดี๋ยวมันก็คิดอย่างโน้น ขึ้นชื่อว่าเอาจิตมีอารมณ์เกาะว่า นั่นเป็นเรา นี่เป็นเรา นี่มันไม่ใช่มีอะไรจริง ความจริงจิตมีสภาพไม่นิ่ง จิตมีสภาพไม่แน่นอน เดี๋ยวมันก็ชอบอย่างนั้น เดี๋ยวมันก็ชอบอย่างนี้ เดี๋ยวมันก็ต้องการอย่างโน้น จึงถือว่าอารมณ์ของจิตนี่หาที่สุดมิได้
นี่เราไม่มีความต้องการอารมณ์อย่างนี้ จนกระทั่งอารมณ์จิตของเรานี้ มีความแนบแน่นสนิท ไม่มีความผูกพันอะไร ในด้านร่างกายก็ดี ในวัตถุก็ดี ไม่เอา แล้วก็ไม่สนใจ ต้องการอย่างเดียว อากาศ คือความว่างเปล่า ปราศจากแม้แต่จิต ถ้าถือว่าขณะใดยังมีขันธ์ ๕ ยังมีภาพอยู่ ยังมีจิตเป็นเครื่องเกาะ มันมีความทุกข์อย่างนี้ ถ้าจิตมันทรงอยู่ได้ตลอดเวลา นึกขึ้นมาเมื่อไร อารมณ์ว่างไม่เกาะอะไรทั้งหมด มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน สภาวะทั้งหลายในโลกไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเราเลย มันไม่มีอะไรทรงตัว มีอารมณ์ว่าง หาที่สุดมิได้ ถ้าเราเกาะโลกอยู่เพียงใด ก็ชื่อว่าเราเป็นผู้มีทุกข์
นี่อาการอย่างนี้คล้ายคลึงวิปัสสนาญาณมาก อย่างนี้เรียกว่าได้ วิญญาณัญจายตนะฌาน นี่เป็นอารมณ์ เราพูดกันถึงอารมณ์ เราพูดกันถึงอารมณ์ ถ้าไปอ่านตามแบบบางทีจะค้านกัน เมื่อเราได้วิญญาณัญจายตนะแล้ว ก็ชื่อว่าได้ สมาบัติที่ ๖ หรือ ฌานที่ ๖ อย่าลืมนะว่า เราต้องจับภาพพระพุทธรูปเป็นกสิณก่อน ต่อมาเราก็เพิกให้หายไป ถือเอากสิณนำให้จิตมันจับเป็นอารมณ์ทรงตัวก่อนนั่นเอง เพราะกสิณเป็นของหยาบ จับให้ทรงตัวแล้ว จงนึกว่าขอภาพนี้จงหายไป
ทีนี้ก็มาพิจารณา ฌานที่ ๗ หรือสมาบัติที่ ๗ คืออากิญจัญญายตนะฌาน พิจารณาว่า โลกนี้มันไม่มีอะไรเหลือเลยนี่ มันพังหมดมันสลายตัวหมด ตึกรามบ้านช่อง เขาสร้างขึ้นมาอย่างดีๆ ก็พัง บ้านเมืองเก่าๆ เขาสร้างแข็งแรงก็พัง กำแพงเมืองใหญ่อย่างกำแพงเมืองจีน กำแพงเมืองไทย กำแพงเมืองฝรั่ง เขาสร้างแข็งแรงมากที่สุด มันก็พัง ภูเขามันก็มีอาการผุ เขาเอาดินมาทำลูกรัง มันก็ผุจมหายไปหมด คนก็ดี สัตว์ก็ดี ต้นไม้ก็ดี เรือนโรงก็ดี เมื่อถึงที่สุดแล้วไม่มีอะไรเหลือ อากิญจัญญายตนะ นี่เขาแปลว่า หาอะไรเหลือไม่ได้ จิตใจว่างจากอารมณ์ เลยไม่ยึดถืออะไรทั้งหมด อะไรเล่าที่เป็นสาระสำหรับเราไม่มี แม้แต่ร่างกายของเรานี้ ไม่ช้ามันก็พัง การทรงร่างกายอยู่อย่างนี้มันเป็นทุกข์ เราไม่ต้องการมีร่างกายอีก ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวได้ดีแล้ว ก็ชื่อว่าเราได้ อากิญจัญญายตนะฌาน เป็นสมาบัติที่ ๗
ทีนี้มาสมาบัติที่ ๘ จับภาพพระพุทธรูปเป็นอารมณ์ ทรงอารมณ์แจ่มใสให้ใจสบาย เป็นอุเบกขารมณ์ อรูปฌานนี่ก็ทรงฌาน ๔ นั่นเอง แต่มาจับเป็นส่วนอรูป อารมณ์มันเท่ากัน มาจับเนวสัญญานาสัญญายตนะฌาน เรามีสัญญาความรู้สึก ทำตนเหมือนคนไม่มีสัญญา เพราะเห็นว่าร่างกายไม่มีสาระ ร่างกายไม่มีแก่นสาร ร่างกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ วัตถุทั้งหมดไม่มีอะไรเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ไม่มีอะไรเป็นที่อาศัยจริงจัง ตายแล้วก็เอาไปไม่ได้
เวลาร่างกายมันจะหิว มันมีอาหารกินก็กิน ไม่มีกินก็ทำสบาย รู้สึกว่าหิวแล้วทำเหมือนว่าไม่หิว มันหนาวมันไม่มีอะไรจะเป็นเครื่องปกปิด ก็นอนมันเฉยๆ มันหนาวก็หนาวไป ทำเหมือนว่าเป็นคนไม่หนาว ร้อนก็ทำเฉยๆ ทำเหมือนว่าเป็นคนไม่ร้อน ใครเขาด่าว่าอะไรก็ทำเหมือนว่าไม่มีคน ไม่สนใจกับอะไรทั้งหมด มีสัญญาก็เหมือนกับคนที่ไม่มีสัญญา คือความจำมันมีอยู่ แต่ทำเหมือนกับคนที่ไม่มีความจำ ทำแบบนี้แล้วจิตมันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์ จิตมันเป็นสุข ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดา หนาวก็หนาวไป ช่างหัวมันไม่สนใจ ร้อนก็ร้อนไป มันอยากหิว หิวก็หิวไป ไม่มีจะกินก็แล้วไป มีกินก็กิน ไม่มีก็ไม่กิน มันอยากจะแก่ก็แก่ไป มันอยากจะป่วยก็ป่วยไป มันจะตายเมื่อไรก็ช่างหัวมัน ขันธ์ ๕ มันไม่ดี เราไม่ตั้งใจจะคบเลย ไม่ต้องการจำอะไรมันทั้งหมด ไม่สนใจอะไรกับมันเลยทั้งหมด อย่างนี้เรียกว่าเป็น ฌานที่ ๘ หรือสมาบัติที่ ๘ นี่อาการมันใกล้วิปัสสนาญาณเต็มที
ฉะนั้นองค์สมเด็จพระชินศรีจึงกล่าวว่า คนที่ได้สมาบัติ ๘ แล้ว ถ้าเจริญวิปัสสนาญาณ พระโบราณาจารย์ สมัยโบราณท่านบอกว่า เพียงแค่เคี้ยวหมากแหลกเดียวก็เป็น พระอรหันต์ หากว่าเราได้สมาบัติ ๘ แบบนี้แล้ว ใช้สมาบัติ ๘ เป็นพื้นฐาน พิจารณาวิปัสสนาญาณในด้านสังโยชน์ ๑๐ คือมีสักกายทิฏฐิ เป็นต้น หรือว่าพิจารณา อริยสัจ ๔ วิปัสสนาญาณ ๙ หรือพิจารณาขันธ์ ๕ ก็ตาม ประเดี๋ยวเดียวมันก็เป็น พระโสดา สกิทาคา อนาคา พอเข้าถึงพระอนาคามี เราก็ได้ปฏิสัมภิทาญาณ
พุทธานุสสติแบบหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
เริ่มต้น ท่านให้พิจารณาขันธ์ ๕ ก่อน โดยพิจารณาว่า ขัน ๕ นี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ท่านสอนให้รู้เรื่องของขันธ์ ๕ จนละเอียด แล้วสั่งให้พิจารณาไป
ท่านบอกว่าการพิจารณาอย่างนี้ ถ้าพิจารณาได้ตลอดไปโดยที่จิตไม่ส่ายไปสู่อารมณ์อื่น ท่านให้พิจารณาเรื่อยไป ท่านบอกว่าพิจารณาได้ตลอดวันตลอดคืนยิ่งดี แต่ท่านไม่ได้บอกว่าเป็นวิปัสสนาญาณ เพียงแต่บอกว่า ก่อนภาวนาควรพิจารณาขันธ์เสียก่อน และไม่ต้องรีบภาวนา ถ้าใครพิจารณาจนเห็นว่าร่างกาย ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ ไม่มีในเรา อัตภาพตัวตนเป็นเพียงธาตุ ๔ ประชุมเป็นร่าง เป็นที่อาศัยชั่วคราวของจิต จนละความห่วงใยในขันธ์ ๕ เสียได้โดยที่ไม่ได้ภาวนาเลยก็ยิ่งดี
ต่อเมื่อจิตจะส่าย พิจารณาไม่ได้ดี ท่านให้ภาวนาโดยตั้งอารมณ์ดังต่อไปนี้
กำหนดลมหายใจไว้สามฐาน คือ ที่จมูก อก และศูนย์เหนือสะดือ ลมจะกระทบ สามฐานนี้ ให้กำหนดรู้ทั้งสามฐาน เพื่อลมหายใจเข้าออกตลอดเวลา พร้อมกันนั้น ท่านก็ให้ภาวนาว่า พุทธ ภาวนาเมื่อสูดลมหายใจเข้า โธ เมื่อหายใจออก แล้วท่านให้นึกถึงภาพพระพุทธ ที่ผู้ปฏิบัติเคารพมาก จะเป็นพระพุทธรูปวัดใดองค์ใดก็ได้ ตามใจสมัคร
ท่านสอนดังนี้ ผู้เขียนเรียนกับท่าน ไม่เคยรู้เลยว่า ตอนแรกท่านให้เจริญวิปัสสนาญาณ คิดว่าเป็นสมถะ ตอนที่ภาวนา คิดว่าเป็นพุทธานุสสติล้วน ต่อมาถึงได้ทราบว่า ท่านให้กรรมฐาน ๔ อย่างรวมกัน คือ ตอนพิจารณาขันธ์ ๕ เป็นวิปัสสนาญาณ ตอนกำหนดลมหายใจเข้าออก เป็นอานาปานุสสติกรรมฐาน ตอนภาวนา เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตอนเพ่งรูปพระเป็นกสิณ ท่านมีความฉลาดสอนรวมคราวเดียว ๔ อย่าง กำลังพุทธานุสสติ มีเพียงอุปจารฌาน อานาปาน์และกสิณ มีกำลังถึงฌาน ๔ รู้สึกว่าท่านฉลาดสอน ท่านสอนเผื่อเหนียวไว้พร้อมมูล หากพบท่านที่มีอุปนิสัยสุกขวิปัสสโกเข้า ท่านเหล่านั้นก็พอใจในวิปัสสนาญาณ ท่านก็จะพากันได้มรรคผลไปตามๆ กัน
แทนที่เราจะภาวนาเฉยๆ เราก็ จับภาพพระพุทธรูป กำหนดภาพไว้ ลืมตาดูภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้ นึกถึงภาพพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้ ที่เราต้องการ เรามีความเลื่อมใสพอใจอยู่ เวลาจับลมหายใจเข้าออก ภาวนาว่า พุทโธ ก็นึกภาพขององค์สมเด็จพระบรมครู จะเป็นพระพุทธรูปก็ได้ ให้ปรากฏอยู่ในใจ ไม่ใช่ไปนั่งคอยให้ภาพลอยมาแบบนี้ใช้ไม่ได้ ภาวนาไปแล้วก็นึกถึงภาพไปด้วย จะนึกอยู่ในอก ให้เห็นอยู่ในอก หรือเห็นภายนอกก็ได้ไม่จำกัด ถ้านึกถึงภาพนั้นตามภาพเดิม อย่างนี้เรียกว่า อุคคหสมาธิ หรือ อุคคหนิมิต
ถ้าภาพเดิมนั้นขยายไป เปลี่ยนแปลงไปชักจะใหญ่ขึ้น จะสูงขึ้น จะเล็กลง แล้วก็มีสีสันวรรณะ เริ่มเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยๆ จากสีเดิมกลายเป็นสีจางไปนิดหน่อย จางลงไปจางลงไป แต่เรารู้สึกอารมณ์จิตนึกเห็นชัด นึกเห็นนะไม่ใช่ภาพลอยมา อารมณ์จิตนึกเห็นจนกระทั่งปรากฏเป็นแก้วใส อย่างนี้ก็ชื่อว่าเป็น อุปจารสมาธิตอนกลาง
ตอนนี้แก้วใสที่กลายเป็นแก้วประกายพรึก แพรวพราวไปหมดทั้งองค์ จิตใจสามารถจะบังคับให้ภาพนั้นเล็กก็ได้ จะให้ใหญ่ก็ได้ สูงก็ได้ ต่ำก็ได้ ตั้งอยู่ข้างหน้าก็ได้ ข้างหลังก็ได้ ตามใจนึก นึกอย่างไร ภาพนั้นปรากฏไปตามนั้น มีความใสสะอาดสุกใสเป็นกรณีพิเศษ อย่างนี้องค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ ท่านกล่าวว่าเป็น ปฐมฌาน
การจับภาพนี่จับให้สนิท ให้คิดอยู่เมื่อไรได้เมื่อนั้น เดินไปบิณฑบาต เดินไปธุระ นั่งอยู่ นึกเห็นเมื่อไรเห็นได้เมื่อนั้นทันที นี่อย่างนี้เป็น กสิณ ด้วย เป็นพุทธานุสสติกรรมฐานด้วย ถ้าการเห็นภาพแบบนั้นปรากฏว่า คำภาวนาว่า พุทโธ หายไป ภาพใสขึ้นผิดกว่าเดิม อันนี้เป็น ฌานที่ ๒ แต่มีจิตชุ่มชื่น อาการของจิตมันเหมือนกัน ภาพใสสะอาดขึ้น มีการทรงตัวมากขึ้น มีความแจ่มใสขึ้น ความชุ่มชื่นหายไป มีอาการเครียด จิตทรงตัวแนบนิ่งสนิท แล้วก็ลมหายใจน้อย ได้ยินเสียงภายนอกเบา อันนี้เป็น ฌานที่ ๓
การเห็นภาพชัดเจนแจ่มใสมากเป็นกรณีพิเศษ สว่างไสว คล้ายกับพระอาทิตย์ทรงกลด หรือว่าคล้ายกับกระจกเงาที่สะท้อนแสงแดดดวงใหญ่ ใจไม่ยุ่งกับอารมณ์อย่างอื่น เป็นอุเบกขารมณ์ ทรงสบาย เห็นแนบนิ่งสนิท จะนั่งนานเท่าไรก็เห็นได้ตามความปรารถนา หูไม่ได้ยินเสียงภายนอก ไม่ปรากฏลมหายใจ อย่างนี้เป็น ฌานที่ ๔ ก็ยังเป็นรูปฌานอยู่
ทีนี้ถ้าหากว่าเราจะทำเป็นอรูปฌาน จะทำอย่างไรเราจะทำถึงฌาน ๘ กันนี่ นี่เป็นวิธีแนะนำปฏิบัติตามผลแห่งการปฏิบัติจริงๆ ไม่ใช่เกาะตำราเสียจนแจแล้วไปไหนไม่พ้น การทำให้ถึงฌาน ๘ เขาทำแบบนี้
จับภาพพระพุทธเจ้าองค์นั้นแหละ ที่เป็นประกายพรึกอยู่ เพ่งจับจุดให้จิตจับดี เมื่อจิตทรงอารมณ์ดีแล้ว ก็เพิกภาพนั้นให้หายไป คำว่าเพิก เป็นภาษาโบราณ คือนึกว่าขอภาพนี้จงหายไป จับ อากาสานัญจายตนะ แทน คือพิจารณาอากาศว่า อากาศนี้หาที่สุดมิได้ มันเวิ้งว้างว่างเปล่า ไม่มีจุดจบ จับอากาศเป็นอารมณ์อย่างนี้ เรียกว่า อากาสานัญจายตนะ จิตทรงอยู่ในด้านของฌาน ๔ จับอากาศ ความหวั่นการเคลื่อนไหวของอากาศว่า ว่างมาก โลกนี้หาอะไรเป็นที่สุดมิได้ หานิมิตเครื่องหมายอะไรไม่ได้เลย หาจุดจบไม่ได้ จนกระทั่งจิตทรงอารมณ์ทรงตัวดีแล้ว อย่างนี้จัดเป็น อรูปฌานที่ ๑ ถ้าจะเรียกกันว่าฌาน ก็เป็น ฌานที่ ๕ หรือ สมาบัติ ๕
เมื่อจับอารมณ์ของอากาศได้แบบสบายๆ ใจสบาย นึกขึ้นมาว่าอากาศมันเวิ้งว้าง ทุกอย่างมันว่างเปล่าเป็นอากาศไปหมด โลกทั้งโลกไม่มีอะไรทรงตัว คนเกิดมาแล้วก็ตาย สัตว์เกิดมาแล้วก็ตาย ต้นไม้เกิดมาแล้วก็ตาย ภูเขาไม่ช้ามันก็พัง บ้านเรือนโรงก็พัง ผลที่สุดมันก็ว่างไปหมด อย่างนี้เรียกว่า จิตเข้าถึงอากาศได้เป็นอย่างดี เป็น อากาสานัญจายตนะ
ทีนี้ก็มาเป็นวิญญานัญจายตนะ นึกถึงวิญญาณ คือจิต สภาวะของจิต ที่มีอารมณ์คิดเป็นปกติ มันก็ไม่มีอาการทรงตัว มันหาที่สุดไม่ได้ มันไม่มีอะไรทรงตัวอยู่เฉพาะแน่นอน เดี๋ยวมันก็คิดอย่างนั้น เดี๋ยวมันก็คิดอย่างนี้ เดี๋ยวมันก็คิดอย่างโน้น ขึ้นชื่อว่าเอาจิตมีอารมณ์เกาะว่า นั่นเป็นเรา นี่เป็นเรา นี่มันไม่ใช่มีอะไรจริง ความจริงจิตมีสภาพไม่นิ่ง จิตมีสภาพไม่แน่นอน เดี๋ยวมันก็ชอบอย่างนั้น เดี๋ยวมันก็ชอบอย่างนี้ เดี๋ยวมันก็ต้องการอย่างโน้น จึงถือว่าอารมณ์ของจิตนี่หาที่สุดมิได้
นี่เราไม่มีความต้องการอารมณ์อย่างนี้ จนกระทั่งอารมณ์จิตของเรานี้ มีความแนบแน่นสนิท ไม่มีความผูกพันอะไร ในด้านร่างกายก็ดี ในวัตถุก็ดี ไม่เอา แล้วก็ไม่สนใจ ต้องการอย่างเดียว อากาศ คือความว่างเปล่า ปราศจากแม้แต่จิต ถ้าถือว่าขณะใดยังมีขันธ์ ๕ ยังมีภาพอยู่ ยังมีจิตเป็นเครื่องเกาะ มันมีความทุกข์อย่างนี้ ถ้าจิตมันทรงอยู่ได้ตลอดเวลา นึกขึ้นมาเมื่อไร อารมณ์ว่างไม่เกาะอะไรทั้งหมด มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน สภาวะทั้งหลายในโลกไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเราเลย มันไม่มีอะไรทรงตัว มีอารมณ์ว่าง หาที่สุดมิได้ ถ้าเราเกาะโลกอยู่เพียงใด ก็ชื่อว่าเราเป็นผู้มีทุกข์
นี่อาการอย่างนี้คล้ายคลึงวิปัสสนาญาณมาก อย่างนี้เรียกว่าได้ วิญญาณัญจายตนะฌาน นี่เป็นอารมณ์ เราพูดกันถึงอารมณ์ เราพูดกันถึงอารมณ์ ถ้าไปอ่านตามแบบบางทีจะค้านกัน เมื่อเราได้วิญญาณัญจายตนะแล้ว ก็ชื่อว่าได้ สมาบัติที่ ๖ หรือ ฌานที่ ๖ อย่าลืมนะว่า เราต้องจับภาพพระพุทธรูปเป็นกสิณก่อน ต่อมาเราก็เพิกให้หายไป ถือเอากสิณนำให้จิตมันจับเป็นอารมณ์ทรงตัวก่อนนั่นเอง เพราะกสิณเป็นของหยาบ จับให้ทรงตัวแล้ว จงนึกว่าขอภาพนี้จงหายไป
ทีนี้ก็มาพิจารณา ฌานที่ ๗ หรือสมาบัติที่ ๗ คืออากิญจัญญายตนะฌาน พิจารณาว่า โลกนี้มันไม่มีอะไรเหลือเลยนี่ มันพังหมดมันสลายตัวหมด ตึกรามบ้านช่อง เขาสร้างขึ้นมาอย่างดีๆ ก็พัง บ้านเมืองเก่าๆ เขาสร้างแข็งแรงก็พัง กำแพงเมืองใหญ่อย่างกำแพงเมืองจีน กำแพงเมืองไทย กำแพงเมืองฝรั่ง เขาสร้างแข็งแรงมากที่สุด มันก็พัง ภูเขามันก็มีอาการผุ เขาเอาดินมาทำลูกรัง มันก็ผุจมหายไปหมด คนก็ดี สัตว์ก็ดี ต้นไม้ก็ดี เรือนโรงก็ดี เมื่อถึงที่สุดแล้วไม่มีอะไรเหลือ อากิญจัญญายตนะ นี่เขาแปลว่า หาอะไรเหลือไม่ได้ จิตใจว่างจากอารมณ์ เลยไม่ยึดถืออะไรทั้งหมด อะไรเล่าที่เป็นสาระสำหรับเราไม่มี แม้แต่ร่างกายของเรานี้ ไม่ช้ามันก็พัง การทรงร่างกายอยู่อย่างนี้มันเป็นทุกข์ เราไม่ต้องการมีร่างกายอีก ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวได้ดีแล้ว ก็ชื่อว่าเราได้ อากิญจัญญายตนะฌาน เป็นสมาบัติที่ ๗
ทีนี้มาสมาบัติที่ ๘ จับภาพพระพุทธรูปเป็นอารมณ์ ทรงอารมณ์แจ่มใสให้ใจสบาย เป็นอุเบกขารมณ์ อรูปฌานนี่ก็ทรงฌาน ๔ นั่นเอง แต่มาจับเป็นส่วนอรูป อารมณ์มันเท่ากัน มาจับเนวสัญญานาสัญญายตนะฌาน เรามีสัญญาความรู้สึก ทำตนเหมือนคนไม่มีสัญญา เพราะเห็นว่าร่างกายไม่มีสาระ ร่างกายไม่มีแก่นสาร ร่างกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ วัตถุทั้งหมดไม่มีอะไรเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ไม่มีอะไรเป็นที่อาศัยจริงจัง ตายแล้วก็เอาไปไม่ได้
เวลาร่างกายมันจะหิว มันมีอาหารกินก็กิน ไม่มีกินก็ทำสบาย รู้สึกว่าหิวแล้วทำเหมือนว่าไม่หิว มันหนาวมันไม่มีอะไรจะเป็นเครื่องปกปิด ก็นอนมันเฉยๆ มันหนาวก็หนาวไป ทำเหมือนว่าเป็นคนไม่หนาว ร้อนก็ทำเฉยๆ ทำเหมือนว่าเป็นคนไม่ร้อน ใครเขาด่าว่าอะไรก็ทำเหมือนว่าไม่มีคน ไม่สนใจกับอะไรทั้งหมด มีสัญญาก็เหมือนกับคนที่ไม่มีสัญญา คือความจำมันมีอยู่ แต่ทำเหมือนกับคนที่ไม่มีความจำ ทำแบบนี้แล้วจิตมันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์ จิตมันเป็นสุข ถือว่าเป็นเรื่องธรรมดา หนาวก็หนาวไป ช่างหัวมันไม่สนใจ ร้อนก็ร้อนไป มันอยากหิว หิวก็หิวไป ไม่มีจะกินก็แล้วไป มีกินก็กิน ไม่มีก็ไม่กิน มันอยากจะแก่ก็แก่ไป มันอยากจะป่วยก็ป่วยไป มันจะตายเมื่อไรก็ช่างหัวมัน ขันธ์ ๕ มันไม่ดี เราไม่ตั้งใจจะคบเลย ไม่ต้องการจำอะไรมันทั้งหมด ไม่สนใจอะไรกับมันเลยทั้งหมด อย่างนี้เรียกว่าเป็น ฌานที่ ๘ หรือสมาบัติที่ ๘ นี่อาการมันใกล้วิปัสสนาญาณเต็มที
ฉะนั้นองค์สมเด็จพระชินศรีจึงกล่าวว่า คนที่ได้สมาบัติ ๘ แล้ว ถ้าเจริญวิปัสสนาญาณ พระโบราณาจารย์ สมัยโบราณท่านบอกว่า เพียงแค่เคี้ยวหมากแหลกเดียวก็เป็น พระอรหันต์ หากว่าเราได้สมาบัติ ๘ แบบนี้แล้ว ใช้สมาบัติ ๘ เป็นพื้นฐาน พิจารณาวิปัสสนาญาณในด้านสังโยชน์ ๑๐ คือมีสักกายทิฏฐิ เป็นต้น หรือว่าพิจารณา อริยสัจ ๔ วิปัสสนาญาณ ๙ หรือพิจารณาขันธ์ ๕ ก็ตาม ประเดี๋ยวเดียวมันก็เป็น พระโสดา สกิทาคา อนาคา พอเข้าถึงพระอนาคามี เราก็ได้ปฏิสัมภิทาญาณ
พุทธานุสสติแบบหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
เริ่มต้น ท่านให้พิจารณาขันธ์ ๕ ก่อน โดยพิจารณาว่า ขัน ๕ นี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ท่านสอนให้รู้เรื่องของขันธ์ ๕ จนละเอียด แล้วสั่งให้พิจารณาไป
ท่านบอกว่าการพิจารณาอย่างนี้ ถ้าพิจารณาได้ตลอดไปโดยที่จิตไม่ส่ายไปสู่อารมณ์อื่น ท่านให้พิจารณาเรื่อยไป ท่านบอกว่าพิจารณาได้ตลอดวันตลอดคืนยิ่งดี แต่ท่านไม่ได้บอกว่าเป็นวิปัสสนาญาณ เพียงแต่บอกว่า ก่อนภาวนาควรพิจารณาขันธ์เสียก่อน และไม่ต้องรีบภาวนา ถ้าใครพิจารณาจนเห็นว่าร่างกาย ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ ไม่มีในเรา อัตภาพตัวตนเป็นเพียงธาตุ ๔ ประชุมเป็นร่าง เป็นที่อาศัยชั่วคราวของจิต จนละความห่วงใยในขันธ์ ๕ เสียได้โดยที่ไม่ได้ภาวนาเลยก็ยิ่งดี
ต่อเมื่อจิตจะส่าย พิจารณาไม่ได้ดี ท่านให้ภาวนาโดยตั้งอารมณ์ดังต่อไปนี้
กำหนดลมหายใจไว้สามฐาน คือ ที่จมูก อก และศูนย์เหนือสะดือ ลมจะกระทบ สามฐานนี้ ให้กำหนดรู้ทั้งสามฐาน เพื่อลมหายใจเข้าออกตลอดเวลา พร้อมกันนั้น ท่านก็ให้ภาวนาว่า พุทธ ภาวนาเมื่อสูดลมหายใจเข้า โธ เมื่อหายใจออก แล้วท่านให้นึกถึงภาพพระพุทธ ที่ผู้ปฏิบัติเคารพมาก จะเป็นพระพุทธรูปวัดใดองค์ใดก็ได้ ตามใจสมัคร
ท่านสอนดังนี้ ผู้เขียนเรียนกับท่าน ไม่เคยรู้เลยว่า ตอนแรกท่านให้เจริญวิปัสสนาญาณ คิดว่าเป็นสมถะ ตอนที่ภาวนา คิดว่าเป็นพุทธานุสสติล้วน ต่อมาถึงได้ทราบว่า ท่านให้กรรมฐาน ๔ อย่างรวมกัน คือ ตอนพิจารณาขันธ์ ๕ เป็นวิปัสสนาญาณ ตอนกำหนดลมหายใจเข้าออก เป็นอานาปานุสสติกรรมฐาน ตอนภาวนา เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตอนเพ่งรูปพระเป็นกสิณ ท่านมีความฉลาดสอนรวมคราวเดียว ๔ อย่าง กำลังพุทธานุสสติ มีเพียงอุปจารฌาน อานาปาน์และกสิณ มีกำลังถึงฌาน ๔ รู้สึกว่าท่านฉลาดสอน ท่านสอนเผื่อเหนียวไว้พร้อมมูล หากพบท่านที่มีอุปนิสัยสุกขวิปัสสโกเข้า ท่านเหล่านั้นก็พอใจในวิปัสสนาญาณ ท่านก็จะพากันได้มรรคผลไปตามๆ กัน
มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร
เรื่องราวมีอยู่ว่า ท่านมัฏฐกุณฑลี นี่ความจริง
ตระกูลนี้ไม่ใช่ตระกูลนับถือพระพุทธศาสนา เป็นตระกูลพราหมณ์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ก็เป็นพราหมณ์ที่เหยียดหยามพระพุทธศาสนาด้วย ไม่มีความเคารพ
บิดาของของท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตรก็เป็นอาจารย์ของพราหมณ์ เป็นคณาจารย์ใหญ่
แต่ว่าอยู่ในฐานะคหบดี คือ คนรวยมาก ท่านผู้นี้มีลูกชายคนเดียว คือ ท่านมัฏฐกุณฑล ต่อมาลูกชายป่วยท่านพ่อแสนจะขี้เหนียว
คือเพียงจะซื้อยาให้ลูกชาย หรือจะหาหมอรักษาให้ลูกชายก็สามารถจะทำได้ แต่ท่านไม่ทำ
เพราะเป็นคหบดีนี่มีทรัพย์นับเป็นสิบโกฏิ ไม่ใช่นับเป็นร้อย
กลับเสียดายสตางค์ที่มีอยู่ ไปถามหมอว่า "ลูกชายฉันเป็นโรคผิวเหลือง
จะรักษาด้วยยาอะไรดี" หมอเขาก็บอกยากลางบ้านแบบธรรมดาๆ
แกได้ตำรายากลางบ้านมาแล้ว ก็ปรากฏว่า มาตำ มาต้ม มาโขลก ให้ลูกชายกินมันก็ไม่หาย
ไข้ก็ทรุดลงตามลำดับ เมื่อลูกชายไข้ทรุดมาก ท่านก็มีความรู้สึกว่า
เวลานี้ลูกชายนอนอยู่ในห้องที่เป็นมงคล เป็นสิริ คือห้องสวยๆ ข้างในมีทรัพย์สินมาก
มีเครื่องประดับประดามาก เขาก็จะมาเยี่ยมแต่คนที่มาเยี่ยมนั้น
ถ้าบังเอิญเห็นของที่ชอบใจของเรา ถ้าไม่ให้กัน ก็เป็นการขัดใจกัน
ทางที่ดีหลบเรื่องนี้ เพื่อเป็นการไม่ทะเลาะกัน หลบเสีย
จึงเอาลูกชายมานอนที่ระเบียงบ้าน ซึ่งไม่มีทรัพย์สินอะไรเป็นเครื่องประดับ
ลูกชายก็อาการป่วยหนักขึ้นทุกวัน ทวีคูณขึ้น พ่อก็ไม่ยอมหายาอย่างดีมารักษาโรค
ตำยา ต้มยา ตามที่หมอกลางบ้านเขาบอกธรรมดาๆต่อมา อาการทรุดหนักขึ้น
แม้แต่แขนขาก็ยกไม่ขึ้น ความตายปรากฏชัด แต่ทว่าพ่อหนุ่มน้อยมัฏฐกุณฑลี
เธอก็ไม่อยากจะตาย ไม่มีความรู้สึกว่าเวลานี้จะต้องตาย คิดแต่เพียงในใจว่า
เราต้องหายจากโรคนี้ แต่ว่าจะหันไปหาพ่อหาแม่ ก็หมดทางที่พ่อแม่จะช่วยเหลือ
พ่อแม่ก็ไม่สนใจเท่าทรัพย์สินที่มีอยู่ ในที่สุดทุกขเวทนาเครียดมาก จึงมีความรู้สึกว่า ชาวบ้านเขาลือกันว่า
พระสมณโคดมท่านเป็นพระใจดีมาก มีเมตตาสูง ย่อมสงเคราะห์ไม่ว่าใคร แต่เวลานี้เราป่วยหนัก
อยากจะให้องค์สมเด็จพระจอมไตร คือพระสมณโคดมมารักษา เราจะได้หายจากโรค ขอให้พิจารณาด้วยว่า
ความรู้สึกของมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ไม่ได้มีความรู้สึกยอมรับนับถือพระพุทธเจ้า
ในด้านของความดีอย่างอื่น แต่เขามีความรู้สึกว่า พระองค์มีเมตตา ไม่เลือกบุคคล แต่ใจของเขาเวลานั้นก็นึกอยากจะให้พระพุทธเจ้ามาช่วยรักษาโรค
อาศัยที่เจตนาตั้งใจยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าให้เป็นหมอรักษาโรค
ความจริงถ้าเพ่งดูจริงๆ แล้ว
มันไม่ตรงกับบุญด้านการยอมรับนับถือในความดีปฏิบัติตามคำสั่งสอนของท่าน
แต่นี่เปล่า เขาไม่ได้คิดอย่างนั้น เขาต้องการให้มาช่วยรักษาโรคให้หาย แต่พระพุทธเจ้าก็มีพระมหากรุณาธิคุณ
ในตอนเช้าทรงเสด็จมาบิณฑบาตกับพระอานนท์ผ่านบ้านพราหมณ์
บ้านนั้นเขาก็ไม่ไหว้พระพุทธเจ้า ไม่ยอมใส่บาตรด้วย ไม่ยอมยกมือไหว้
เมื่อพระพุทธเจ้าผ่านไป เวลานั้นมัฏฐกุณฑลีนอนตะแคง เอาหน้าเข้าหาฝา เห็นแสงสว่างประกาายพุ่งมาเข้าตาของเธอ
ก็สะดุดใจ เหลียวไปเห็นองค์สมเด็จพระจอมไตรกับพระอานนท์กำลังเดินบิณฑบาต
เธอจับภาพพระพุทธเจ้าขณะเดินบิณฑบาต กับภาพพระอานนท์ กับแสงที่ปรากฏกับตาของเธอ
นึกถึงพระพุทธเจ้าว่า ขอพระสมณโคดม จงสงเคราะห์ให้ข้าพเจ้าหายจากโรคเดี๋ยวนี้เถิด ขณะที่เธอนึกอยู่อย่างนั้น
แทนที่มันจะหายจากโรค กลับหายจากความเป็นคน นั่นก็คือ ตายจากความเป็นคน
เธอตายเวลานั้นก็ไม่ผ่านสำนักของพระยายม เพราะนึกถึงพระพุทธเจ้า
ตรงไปสวรรค์ชั้นดาวดึงสเทวโลก ได้วิมานทองคำสูงมาก ใหญ่มาก
แล้วเธอก็เป็นเทวดาประจำที่นั้น มีต่างหูเกลี้ยง จึงมีนามว่า มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร
มีนางฟ้าหนึ่งพันเป็นบริวาร หลังจากลูกชายตายปรากฏว่าเวลาตอนเช้าๆ
ท่านพ่อก็ไปที่ปากหลุมฝังศพของลูก ไปยืนพรรณนา ขอให้ลูกชายกลับมาเกิดใหม่
เพราะเป็นลูกคนเดียว ต่อไปจะไม่มีใครรับมรดก เป็นผู้ปกครองทรัพย์สมบัติ เธอไปพรรณนาอยู่นั้น
กี่วันก็ไม่ทราบ บาลีไม่ได้บอกชัด บอกไว้แต่เพียงว่า มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร
เห็นพ่อไปยืนพรรณนาอยู่ที่นั่น ตั้งใจให้กลับมาเกิดใหม่ เป็นลูก
ก็มีความรู้สึกในใจว่า พ่อของเรานี่เป็นคนพาล คำว่า พาล บรรดาพุทธบริษัท
เขาแปลกันว่า โง่ เป็นคนพาล คือ เป็นคนโง่ ไม่ยอมรับนับถือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เมื่อเวลาเรามีชีวิตอยู่ก็ขี้เหนียว แสนจะเหนียว จะกินจะใช้ ก็ไม่ค่อยกิน
ไม่ค่อยใช้ มีเท่าไรเก็บหมด ยอมอดมื้อกินมื้อ ยอมกินของเล็กๆ น้อยๆ หมายความว่า
ของที่มีค่าไม่สูง แม้จะมีรสไม่อร่อย ก็พร้อมกิน เพื่อเก็บรักษาทรัพย์สิน
เวลาเราป่วยไข้ไม่สบาย ก็ไม่ประสงค์จะรักษา ค่ายาซึ่งเป็นของไม่มากนัก ค่าหมอ
เป็นของไม่มากนัก ในบ้านมีเงินตั้งหลายสิบโกฏิ ก็ไม่ยอมเสียสละเงินค่ายาเพื่อเรา
ไม่ยอมหาหมอรักษาเรา ปล่อยให้เราต้องนอนทุกขเวทนา
ใช้ยากลางบ้านซึ่งไม่ถูกกับโรคกิน ในที่สุดเราก็ต้องตาย แต่ว่าการที่มาได้
อาศัยพระสมณโคดมบรมครู คือพระพุทธเจ้า ทรงสงเคราะห์เราขณะที่เสด็จไปทรงบิณฑบาต
แผ่แสงให้ปรากฏชัดเมื่อเราเห็นองค์สมเด็จพระทรงสวัสดิโสภาคย์แล้ว
จึงได้มีความนับถือ ยอมรับนับถือ คิดว่าขอพระองค์ช่วยให้หายจากโรค
แต่อาการร่างกายมันเกินวิสัยที่จะทรงอยู่ อาศัยที่นึกถึงองค์สมเด็จพระบรมครู
ถึงแม้จะไม่ตรงกับความเป็นบุญนัก คือ นึกต้องการให้ช่วยรักษาโรค
มันไม่ใช่ตรงความเป็นบุญถนัด แต่ถึงกระไรก็ดี แม้แต่เพียงบุญเล็กน้องเพียงเท่านี้
ก็สามารถทำให้เราเกิดเป็นเทวดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงสเทวโลก มีวิมานทองคำเป็นที่อยู่
มีเครื่องประดับเป็นทิพย์ มีร่างกายเป็นทิพย์ มีความเป็นอยู่อย่างเป็นทิพย์
มีความสุขมาก แต่พ่อของเรานี้จมปราณอยู่กับความโง่ เราต้องไปทรมานพ่อ
ให้มีความรู้สึกเคารพในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ให้เป็นสัมมาทิฏฐิ คือ
มีความเห็นถูกคลายจากความโง่เมื่อท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร คิดอย่างนี้แล้ว ก็ลงมา
แปลงเป็นคนเหมือนรูปเก่า เหมือนรูปเดิม เห็นพ่อยืนร้องไห้อยูปากหลุม
เธอก็มายืนร้องไห้บ้าง ใกล้ๆ กับพ่อ ท่านพราหมณ์เห็นมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร
มายืนอย่างนั้นก็เข้าใจว่า ชายคนนี้เหมือนลูกชายของเรา ถ้าได้ไว้เป็นลูกจะดีมาก
จึงเข้าไปใกล้ ถามว่า "พ่อคุณเอ๋ย .. เธอร้องไห้ทำไม"
มัฏฐกุณฑลีเทพบุตรก็ถามว่า "คุณลุงร้องไห้ทำไม" คุณลุงก็ตอบว่า
"ฉันร้องไห้คิดถึงลูกชายของฉัน ลูกชายของฉันกำลังเป็นหนุ่มเป็นแน่น
เป็นคนน่ารัก เป็นคนดีมาก แต่ทว่าเธอต้องมาตายซึ่งอายุยังน้อย
ฉันมีลูกคนเดียวไม่มีใครปกครองทรัพย์สิน ถ้าลูกฉันอยู่
จะมีโอกาสได้ปกครองทรัพย์สิน แต่ถ้าหากว่าลูกของฉันที่ตาย ถ้าเธอกลับมาได้
ฉันจะให้ปกครองทรัพย์สินใหม่ หรือมิฉะนั้น ถ้าเธอไม่รังเกียจ เป็นลูกบุญธรรมของฉัน
ฉันจะให้ปกครองทรัพย์สินแทนลูกชายของฉัน"ท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตรได้ฟัง ก็นึกในใจว่า
พ่อของเราเมื่อเราอยู่ ยาก็ไม่หา ไม่ยอมซื้อที่ถูก หมอก็ไม่รักษา ขี้เหนียวที่สุด
แต่เวลานี้ กลับเห็นเราซึ่งเป็นคนอื่น จะยอมมอบทรัพย์สมบัติให้กับบุคคลนั้น
รวมความว่า ท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ฟังแล้วก็คิดว่าตายจริง พ่อเรานี่โง่มาก
คนตายแล้วมันเกิดได้เมื่อไหร่ และท่านลุงก็ถามว่า "เธอร้องไห้ทำไม"
ท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็ตอบว่า "ฉันร้องไห้นี่ เพราะว่า ฉันมีรถทองคำอยู่คันหนึ่ง สวยมาก แต่ยังหาล้อที่เหมาะสมไม่ได้" ท่านคหบดีก็ถามว่า "เธอต้องการอะไร ต้องการล้อเงิน หรือล้อทอง ฉันจะจัดให้ตามความประสงค์" มัฏฐกุณฑลีเทพบุตรก็คิดว่า นี่เราคนอื่น เธอกลับจะให้ล้อเงินกับล้อทอง แต่ว่าเวลาที่อยู่ไม่ยอมรักษาให้ ทรัพย์สมบัติก็ไม่ให้ จะไปไหนก็ขี้เหนียว สตางค์ก็ไม่ค่อยให้ จึงแกล้งบอกว่า "ฉันต้องการ ดวงจันทร์ กับดวงอาทิตย์ มาเป็นล้อทั้งสองข้าง ดวงอาทิตย์ล้อข้างหนึ่ง ดวงจันทร์ข้างหนึ่ง"ท่านพราหมณ์ก็เอะใจ คิดว่าได้เจ้าเด็กนี่บ้า ก็เลยบอกว่า "เธอบ้า เพราะว่าดวงจันทร์ กับดวงอาทิตย์ใครจะนำมาได้" ท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็ถามว่า "โภ ปุริสสะ ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ คนที่ต้องการสิ่งที่มองเห็น กับคนที่ต้องการสิ่งที่มองไม่เห็น ใครจะบ้ามากกว่ากัน เวลานี้ลูกชายของท่านอยู่ที่ไหน ท่านทราบไหม" พราหมณ์ก็บอกว่า "ไม่ทราบ" "ในเมื่อฉันต้องการดวงจันทร์ กับดวงอาทิตย์ที่ฉันเห็นได้ แต่ท่านต้องการลูกชายที่เห็นไม่ได้ ผมกับท่านใครจะบ้ามากกว่ากัน" เป็นอันว่า พราหมณ์ยอมรับว่า บ้ามากกว่าเขา ในที่สุด มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็แสดงตนเป็นเทวดาประกาศให้ทราบว่าตัวท่านคือ มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร เป็นลูกชายของท่านพราหมณ์ เวลานี้ไปอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงสเทวโลก พราหมณ์ก็ถามว่าไปได้เพราะเหตุใด ท่านก็ตอบว่า ก่อนจะตายเห็นพระสมณโคดมกับพระอานนท์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นึกถึงพระสมณโคดม ขอให้มาช่วยรักษาโรคให้หาย แต่ก็เป็นการบังเอิญ มันไม่หาย แค่นึกถึงชื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร ตายจากความเป็นคน ก็ไปเกิดเป็นเทวดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีนางฟ้าเป็นบริวารพันคน มีวิมาณทองคำเป็นที่อยู่ จึงแนะนำว่า "ต่อนี้ไป ขอพ่อโปรดเคารพองค์สมเด็จพระบรมครู จงถวายทานในสำนักของท่าน จงรักษาศีลในสำนักของท่าน จงฟังเทศน์ในสำนักของท่าน ตายแล้วจะไปสวรรค์" ท่านมัฏฐกุณฑลีว่าแล้ว ก็ลากลับไป หลังจากนั้น พราหมณ์ ก็เพื่อเป็นการพิสูจน์ กลับไปบ้าน ดีใจ บอกแม่บ้านว่า "วันนี้ฉันจะไปนิมนต์พระสมณโคดมกับพระสาวก มาฉันภัตตาหารที่บ้าน ทำกับข้าวให้มาก" แล้วก็หลีกไป ครั้นเมื่อไปพบองค์สมเด็จพระจอมไตรแล้ว เวลานั้นปรากฏว่า มีชาวบ้านหลายพวก สองฝ่าย พวกของพราหมณ์บ้าง พวกพุทธศาสนาบ้าง ต่างคนต่างตามไป พวกของพราหมณ์คิดว่าวันนี้เราต้องการดู อทินกบุพกพราหมณ์ คือพ่อของ มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ย่ำยีพระสมณโคดม สำหรับพุทธบริษัทก็คิดว่า วันนี้เราจะดูลีลาพระพุทธเจ้าที่สอนพราหมณ์ที่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ให้เป็นสัมมาทิฏฐิ คนทั้งสองฝ่ายก็ไปยืนร่วมกันที่นั่น เมื่อไปถึงแล้วเขาก็ยกมือไหว้องค์สมเด็จพระทรงธรรม์ แล้วกล่าวว่า "พระสมณโคดม ผมอยากจะทราบว่า คนที่ไม่เคยใส่บาตรกับท่าน ไม่เคยฟังเทศน์ ไม่เคยรักษาศีล ไม่เคยยกมือไหว้ในสำนักของท่าน นึกถึงชื่อท่านอย่างเดียว ตายแล้วไปสวรรค์ มีไหม"องค์สมเด็จพระจอมไตรก็ตรัสว่า "พราหมณะ ดูก่อนพราหมณ์ คนที่ไม่เคยใส่บาตร ไม่เคยฟังเทศน์ ไม่เคยยกมือไหว้ นึกถึงชื่อตถาคตอย่างเดียว ตายแล้วไปสวรรค์ ไม่ใช่นับร้อย นับพัน แต่นับเป็นโกฏิ" หลังจากนั้น พระองค์ก็ทรงเรียกมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ให้มาพร้อมวิมาน มัฏฐกุณฑลีมาแล้ว ก็ลงจากวิมานมากราบพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ทรงเทศน์โปรด เมื่อเทศน์จบ มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็เป็นพระโสดาบัน คนที่ยืนฟังอยู่นั่น ต่างบรรลุมรรคผลไปตามๆ กัน นี่แหละบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน ที่นำเรื่องนี้มา อาจจะยาวไปหน่อย ก็เพราะว่า ต้องการให้ท่านทั้งหลายทราบว่า คนที่ตั้งใจนึกถึงพระพุทธเจ้าเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ถึงแม้ว่ากาลก่อนจะไม่เคยยอมรับนับถือมา แต่เวลใกล้จะตาย ก่อนจะตายถ้านึกถึงชื่อองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดา อย่างมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร อย่างนี้ตายแล้วไปสวรรค์แน่นอน ไม่ต้องผ่านสำนักพระยายม แต่ว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ได้เปรียบกว่ามัฏฐกุณฑลีเทพบุตรมาก เพราะว่า ทุกคนยอมรับนับถือพระพุทธเจ้ามาในกาลก่อน และปัจจุบันก็ยังยอมรับนับถืออยู่ เวลานี้ทุกคนก็ยังมีความเคารพในองค์สมเด็จพระบรมครู ถ้าหากว่าทุกท่านจะซ้อมความรู้สึกนึกถึงพระพุทธเจ้า คือตื่นขึ้นจากที่นอนสัก ๒ ถึง ๓ นาทีว่า ความดีขององค์สมเด็จพระชินศรีที่มีแล้ว ยอมรับนับถือด้วยความจริงใจ แล้วก็ตั้งใจรักษาความดีอย่างใดอย่างหนึ่ง สมมติว่า ตั้งใจจะให้ทาน พระพุทธเจ้าแนะนำว่า ทานเป็นของดี ก็คิดในใจว่า เราต้องการให้ทาน ถ้าโอกาสจะพึงมี เพียงเท่านี้ จิตใจของท่านจะตั้งอยู่ใน พุทธานุสสติกรรมฐาน กับจาคานุสสติกรรมฐาน ถ้าเวลาตาย บรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน อย่างเลวที่สุด ก็เกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงสเทวโลก ถ้าอย่างสูงที่สุด ก็เห็นจะต้องเป็น นิพพาน เพราะว่า พระพุทธโฆษาจารย์ รจนาวิสุทธิมรรค ท่านกล่าวว่า "บุคคลใดเจริญพุทธานุสสติกรรมฐาน เป็นประจำ คนนั้นไปนิพพานง่ายที่สุด"
๏ การสร้างพระพุทธรูป จัดว่าเป็นพุทธบูชา ถ้าในเรื่องกรรมฐาน จัดเป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน ถ้าตายจากคนไปเกิดเป็นเทวดา มีรัสมีกายสว่างไสวมาก ถ้าถวายปัจจัยถวายเป็นของสงฆ์ จัดว่าเป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา จัดเป็นจาคานุสสติกรรมฐาน เกิดมาชาติหน้าก็รวย การสร้างพระถวาย ด้วยอำนาจพุทธบูชา ทำให้มีรัศมีกายมาก เป็นคนสวยเช่นนางวิสาขามหาอุบาสิกา ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า "พุทธบูชา มหาเตชวัณโต" การบูชาพระพุทธเจ้า มีเดชอำนาจมาก
๏ อานันทะดูก่อนอานนท์ บุคคลใดเกิดมาทันในสมัยที่ตถาคตมีชีวิตอยู่ บุคคลเหล่านั้น เขาแม้แต่ว่าจะเกาะชายสังฆาฏิของตถาคตอยู่ก็ตาม แต่ว่าท่านผู้นั้นไม่ได้เจริญพุทธานุสสติกรรมฐาน ตถาคตถือว่าเขาผู้นั้นเป็นผู้ไม่เคยเห็นตถาคตเลย เพราะอะไร เพราะนั่งเกาะชายสังฆาฏิ เห็นแต่เนื้อเห็นแต่ร่างกายของท่าน ไม่ได้เห็นความเป็นพระพุทธเจ้า ความเป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้อยู่ที่ขันธ์ ๕ ความเป็นพระพุทธเจ้าอยู่ที่การบรรลุมรรคผล อยู่ที่ความดีของจิต
ต่อไปองค์สมเด็จพระธรรมสามิศร ได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า อานันทะดูก่อนอานนท์ บุคคลใดเกิดมาทันในสมัยที่ตถาคตยังมีชีวิตอยู่ก็ดี หรือว่าเมื่อตถาคตนิพพานไปแล้วก็ดี ถ้าบุคคลผู้นั้นเจริญพุทธานุสสติกรรมฐานอยู่เป็นปกติ ตถาคตถือว่า เขาผู้นั้นเป็นผู้เกาะชายสังฆาฏิของตถาคตอยู่
ท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็ตอบว่า "ฉันร้องไห้นี่ เพราะว่า ฉันมีรถทองคำอยู่คันหนึ่ง สวยมาก แต่ยังหาล้อที่เหมาะสมไม่ได้" ท่านคหบดีก็ถามว่า "เธอต้องการอะไร ต้องการล้อเงิน หรือล้อทอง ฉันจะจัดให้ตามความประสงค์" มัฏฐกุณฑลีเทพบุตรก็คิดว่า นี่เราคนอื่น เธอกลับจะให้ล้อเงินกับล้อทอง แต่ว่าเวลาที่อยู่ไม่ยอมรักษาให้ ทรัพย์สมบัติก็ไม่ให้ จะไปไหนก็ขี้เหนียว สตางค์ก็ไม่ค่อยให้ จึงแกล้งบอกว่า "ฉันต้องการ ดวงจันทร์ กับดวงอาทิตย์ มาเป็นล้อทั้งสองข้าง ดวงอาทิตย์ล้อข้างหนึ่ง ดวงจันทร์ข้างหนึ่ง"ท่านพราหมณ์ก็เอะใจ คิดว่าได้เจ้าเด็กนี่บ้า ก็เลยบอกว่า "เธอบ้า เพราะว่าดวงจันทร์ กับดวงอาทิตย์ใครจะนำมาได้" ท่านมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็ถามว่า "โภ ปุริสสะ ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ คนที่ต้องการสิ่งที่มองเห็น กับคนที่ต้องการสิ่งที่มองไม่เห็น ใครจะบ้ามากกว่ากัน เวลานี้ลูกชายของท่านอยู่ที่ไหน ท่านทราบไหม" พราหมณ์ก็บอกว่า "ไม่ทราบ" "ในเมื่อฉันต้องการดวงจันทร์ กับดวงอาทิตย์ที่ฉันเห็นได้ แต่ท่านต้องการลูกชายที่เห็นไม่ได้ ผมกับท่านใครจะบ้ามากกว่ากัน" เป็นอันว่า พราหมณ์ยอมรับว่า บ้ามากกว่าเขา ในที่สุด มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็แสดงตนเป็นเทวดาประกาศให้ทราบว่าตัวท่านคือ มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร เป็นลูกชายของท่านพราหมณ์ เวลานี้ไปอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงสเทวโลก พราหมณ์ก็ถามว่าไปได้เพราะเหตุใด ท่านก็ตอบว่า ก่อนจะตายเห็นพระสมณโคดมกับพระอานนท์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นึกถึงพระสมณโคดม ขอให้มาช่วยรักษาโรคให้หาย แต่ก็เป็นการบังเอิญ มันไม่หาย แค่นึกถึงชื่อองค์สมเด็จพระจอมไตร ตายจากความเป็นคน ก็ไปเกิดเป็นเทวดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีนางฟ้าเป็นบริวารพันคน มีวิมาณทองคำเป็นที่อยู่ จึงแนะนำว่า "ต่อนี้ไป ขอพ่อโปรดเคารพองค์สมเด็จพระบรมครู จงถวายทานในสำนักของท่าน จงรักษาศีลในสำนักของท่าน จงฟังเทศน์ในสำนักของท่าน ตายแล้วจะไปสวรรค์" ท่านมัฏฐกุณฑลีว่าแล้ว ก็ลากลับไป หลังจากนั้น พราหมณ์ ก็เพื่อเป็นการพิสูจน์ กลับไปบ้าน ดีใจ บอกแม่บ้านว่า "วันนี้ฉันจะไปนิมนต์พระสมณโคดมกับพระสาวก มาฉันภัตตาหารที่บ้าน ทำกับข้าวให้มาก" แล้วก็หลีกไป ครั้นเมื่อไปพบองค์สมเด็จพระจอมไตรแล้ว เวลานั้นปรากฏว่า มีชาวบ้านหลายพวก สองฝ่าย พวกของพราหมณ์บ้าง พวกพุทธศาสนาบ้าง ต่างคนต่างตามไป พวกของพราหมณ์คิดว่าวันนี้เราต้องการดู อทินกบุพกพราหมณ์ คือพ่อของ มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ย่ำยีพระสมณโคดม สำหรับพุทธบริษัทก็คิดว่า วันนี้เราจะดูลีลาพระพุทธเจ้าที่สอนพราหมณ์ที่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ให้เป็นสัมมาทิฏฐิ คนทั้งสองฝ่ายก็ไปยืนร่วมกันที่นั่น เมื่อไปถึงแล้วเขาก็ยกมือไหว้องค์สมเด็จพระทรงธรรม์ แล้วกล่าวว่า "พระสมณโคดม ผมอยากจะทราบว่า คนที่ไม่เคยใส่บาตรกับท่าน ไม่เคยฟังเทศน์ ไม่เคยรักษาศีล ไม่เคยยกมือไหว้ในสำนักของท่าน นึกถึงชื่อท่านอย่างเดียว ตายแล้วไปสวรรค์ มีไหม"องค์สมเด็จพระจอมไตรก็ตรัสว่า "พราหมณะ ดูก่อนพราหมณ์ คนที่ไม่เคยใส่บาตร ไม่เคยฟังเทศน์ ไม่เคยยกมือไหว้ นึกถึงชื่อตถาคตอย่างเดียว ตายแล้วไปสวรรค์ ไม่ใช่นับร้อย นับพัน แต่นับเป็นโกฏิ" หลังจากนั้น พระองค์ก็ทรงเรียกมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ให้มาพร้อมวิมาน มัฏฐกุณฑลีมาแล้ว ก็ลงจากวิมานมากราบพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ทรงเทศน์โปรด เมื่อเทศน์จบ มัฏฐกุณฑลีเทพบุตร ก็เป็นพระโสดาบัน คนที่ยืนฟังอยู่นั่น ต่างบรรลุมรรคผลไปตามๆ กัน นี่แหละบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน ที่นำเรื่องนี้มา อาจจะยาวไปหน่อย ก็เพราะว่า ต้องการให้ท่านทั้งหลายทราบว่า คนที่ตั้งใจนึกถึงพระพุทธเจ้าเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ถึงแม้ว่ากาลก่อนจะไม่เคยยอมรับนับถือมา แต่เวลใกล้จะตาย ก่อนจะตายถ้านึกถึงชื่อองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดา อย่างมัฏฐกุณฑลีเทพบุตร อย่างนี้ตายแล้วไปสวรรค์แน่นอน ไม่ต้องผ่านสำนักพระยายม แต่ว่าบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลาย ได้เปรียบกว่ามัฏฐกุณฑลีเทพบุตรมาก เพราะว่า ทุกคนยอมรับนับถือพระพุทธเจ้ามาในกาลก่อน และปัจจุบันก็ยังยอมรับนับถืออยู่ เวลานี้ทุกคนก็ยังมีความเคารพในองค์สมเด็จพระบรมครู ถ้าหากว่าทุกท่านจะซ้อมความรู้สึกนึกถึงพระพุทธเจ้า คือตื่นขึ้นจากที่นอนสัก ๒ ถึง ๓ นาทีว่า ความดีขององค์สมเด็จพระชินศรีที่มีแล้ว ยอมรับนับถือด้วยความจริงใจ แล้วก็ตั้งใจรักษาความดีอย่างใดอย่างหนึ่ง สมมติว่า ตั้งใจจะให้ทาน พระพุทธเจ้าแนะนำว่า ทานเป็นของดี ก็คิดในใจว่า เราต้องการให้ทาน ถ้าโอกาสจะพึงมี เพียงเท่านี้ จิตใจของท่านจะตั้งอยู่ใน พุทธานุสสติกรรมฐาน กับจาคานุสสติกรรมฐาน ถ้าเวลาตาย บรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน อย่างเลวที่สุด ก็เกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงสเทวโลก ถ้าอย่างสูงที่สุด ก็เห็นจะต้องเป็น นิพพาน เพราะว่า พระพุทธโฆษาจารย์ รจนาวิสุทธิมรรค ท่านกล่าวว่า "บุคคลใดเจริญพุทธานุสสติกรรมฐาน เป็นประจำ คนนั้นไปนิพพานง่ายที่สุด"
๏ การสร้างพระพุทธรูป จัดว่าเป็นพุทธบูชา ถ้าในเรื่องกรรมฐาน จัดเป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน ถ้าตายจากคนไปเกิดเป็นเทวดา มีรัสมีกายสว่างไสวมาก ถ้าถวายปัจจัยถวายเป็นของสงฆ์ จัดว่าเป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา จัดเป็นจาคานุสสติกรรมฐาน เกิดมาชาติหน้าก็รวย การสร้างพระถวาย ด้วยอำนาจพุทธบูชา ทำให้มีรัศมีกายมาก เป็นคนสวยเช่นนางวิสาขามหาอุบาสิกา ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า "พุทธบูชา มหาเตชวัณโต" การบูชาพระพุทธเจ้า มีเดชอำนาจมาก
๏ อานันทะดูก่อนอานนท์ บุคคลใดเกิดมาทันในสมัยที่ตถาคตมีชีวิตอยู่ บุคคลเหล่านั้น เขาแม้แต่ว่าจะเกาะชายสังฆาฏิของตถาคตอยู่ก็ตาม แต่ว่าท่านผู้นั้นไม่ได้เจริญพุทธานุสสติกรรมฐาน ตถาคตถือว่าเขาผู้นั้นเป็นผู้ไม่เคยเห็นตถาคตเลย เพราะอะไร เพราะนั่งเกาะชายสังฆาฏิ เห็นแต่เนื้อเห็นแต่ร่างกายของท่าน ไม่ได้เห็นความเป็นพระพุทธเจ้า ความเป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้อยู่ที่ขันธ์ ๕ ความเป็นพระพุทธเจ้าอยู่ที่การบรรลุมรรคผล อยู่ที่ความดีของจิต
ต่อไปองค์สมเด็จพระธรรมสามิศร ได้มีพระพุทธฎีกาตรัสว่า อานันทะดูก่อนอานนท์ บุคคลใดเกิดมาทันในสมัยที่ตถาคตยังมีชีวิตอยู่ก็ดี หรือว่าเมื่อตถาคตนิพพานไปแล้วก็ดี ถ้าบุคคลผู้นั้นเจริญพุทธานุสสติกรรมฐานอยู่เป็นปกติ ตถาคตถือว่า เขาผู้นั้นเป็นผู้เกาะชายสังฆาฏิของตถาคตอยู่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น